Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไกรยุทธ ธีรตยาดีนันท์-
dc.contributor.authorวาสนา คำภีระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-04-22T06:36:50Z-
dc.date.available2016-04-22T06:36:50Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.issn9745791466-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47537-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะชี้ให้เห็นถึงลักษณะของกระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจโดยจะอธิบายถึงข้อจำกัดในการใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงผลได้-ผลเสียในเบื้องต้น ส่วนช่วงหลังจะเป็นการอธิบายกลุ่มบุคคลที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจในแต่ละขั้นตอนเพื่ออธิบายกระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น กรณีศึกษากระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจที่ผู้ศึกษาคือ กรณีเขื่อนแก่งกรุง กรณีลำน้ำเสียว และกรณีทางหลวงสัมปทานสายรังสิต-สระบุรี ผลการศึกษาพบว่าการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจในแต่ละเรื่องนั้นเป็นเรื่องของการต่อสู้กันระหว่างกลุ่มผลประโยชน์มากกว่าการเปรียบเทียบผลได้หรือผลเสียของแต่ละกรณีศึกษา โดยสรุปการอธิบายกลุ่มบุคคลและพฤติกรรมของกลุ่มต่างๆเพื่อปกป้องสนับสนุนหรือคัดค้านผลประโยชน์ของแต่ละกลุ่มจะเป็นตัวอธิบายภาพกระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจได้ชัดเจนยิ่งกว่าการนำเอาวิธีการวิเคราะห์เชิงผลได้-ผลเสียมาอธิบายเสียอีกen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to study the decision making process of economic policy. The limitation in using cost – benefit analysis is investigated first and the influence of interest group on the outcome of decision making in presented later. The three case studies analysed in the thesis are the Kaeng Krung Dam, the Lum Num Seaw and the Rungsit Saraburi Highway Concession. The conclusion from the studies is that outcome of decision making for each economic policy case study is the result of struggles among interest groups more than the result from comparison of cost and benefit of each case study. In summary the struggle among interest group explains the outcome of decision making process of economic policy more effectively than the cost benefit analysis method.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนโยบายเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการตัดสินใจen_US
dc.subjectEconomic policyen_US
dc.subjectDecision makingen_US
dc.titleกระบวนการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจen_US
dc.title.alternativeDecision-making of economic policyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vasana_kh_front.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch1.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch2.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch3.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch4.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch5.pdf5.77 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_ch6.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Vasana_kh_back.pdf917.82 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.