Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมั่นสิน ตัณฑุลเวศม์-
dc.contributor.authorสุรชัย ใหญ่สว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-05-26T07:31:41Z-
dc.date.available2016-05-26T07:31:41Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745682632-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47621-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractจากการทดลองกำจัดไนโตรเจน (TKN) ในน้ำเสียสิ่งปฏิกูลที่ผ่านการตกตะกอนมาแล้วนั้น ด้วยระบบแอกทิเวตเต็ดสลัดจ์และระบบแอเรตเต็ดลากูน ภายใต้การควบคุมอายุตะกอน (SRT) ที่ 5 10 15 และ 20 วัน และระยะเวลากักน้ำ (HRT) 3 5 และ 10 วัน ตามลำดับ พบว่าทั้งอายุตะกอนและระยะเวลากักน้ำจะต้องสูงกว่า 10 วัน ปฏิกิริยาไนตริฟิเคชันจึงจะสามารถเกิดขึ้นได้ แต่ทั้งนี้ระดับพีเอชและออกซิเจนละลายก็จะต้องมีค่าสูงเพียงพอด้วย สภาพความเป็นด่างในน้ำเสียสิ่งปฏิกูลมีค่าต่ำกว่าระดับที่ต้องการมากจึงเติมโซเดียมไบคาร์บอเนตเพื่อเพิ่มสภาพความเป็นด่างให้มีปริมาณที่มากเกินพอโดยส่วนหนึ่งใช้ไปในปฏิกิริยา อีกส่วนหนึ่งทำหน้าที่ควบคุมพีเอชไม่ให้ลดต่ำลงจนปฏิกิริยาเกิดขึ้นไม่ได้ ในการกำจัดไนโตรเจนด้วยระบบแอกติเวตเต็ดสลัดจ์และระบบแอเรตเต็ดลากูน ระบบทั้งสองมีประสิทธิภาพในการกำจัดไนโตรเจนเท่าเทียมกัน ยกตัวอย่าง เช่น ระบบแอกติเวตเต็ดสลัดจ์สามารถกำจัด TKN จากความเข้มข้นประมาณ 300 มก./ล. ให้เหลือความเข้มข้นน้อยกว่า 1 มก./ล. ในขณะควบคุม SRT ให้มีค่ามากกว่า 10 วัน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงระดับตะกอนที่มีอยู่ในน้ำทิ้งด้วยแล้วระบบแอเรตเต็ดลากูนมีตะกอนแขวนลอยสูงกว่าระบบแอกทิเวตเต็ดสลัดจ์และมีค่าเกินกว่ามาตรฐานกำหนด ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบความเหมาะสมในการกำจัดไนโตรเจนในน้ำเสียด้วยระบบทั้งสองก่อนที่จะระบายน้ำทิ้งลงสู่ลำน้ำสาธารณะ จึงพบว่า ระบบแอกทิเวตเต็ดสลัดจ์มีความเหมาะสมในการกำจัดไนโตรเจนมากกว่า และสามารถระบายน้ำทิ้งลงสู่ลำน้ำสาธารณะได้ทันทีen_US
dc.description.abstractalternativeIn this experimentation, the removal of TKN in the clarified septage was tested by using an activated sludge system and an aerated lagoon system. The activated sludge system had been experimentally operated at SRT of 5, 10, 15 and 20 days while the aerated lagoon system had been operated at HRT of 3, 5, and 10 days. It was found that nitrification could effectively occur at either SRT and HRT of 10 days or more for the activated sludge and aerated lagoon respectively. At the same time, the pH and DO concentration in both system should be maintained at sufficient high levels. The importance of the alkalinity in the water had been also realized since the nitrification reaction usually consumed tremendous amount of alkalinity. In this case, sodium, bicarbonate was added into both systems to supplement for the insufficient alkalinity found in the clarified septage. If no external alkali was added, the pH of the reactors would be markedly decreased and dropped to the level of less than 6 It was also revealed that both activated sludge and aerated lagoon could effectively remove TKN. For example, the TKN concentration could be removed from about 300 or more to less than 1 mg/l. by the activated sludge system operated at the SRT of 10 days or more. However, the final effluent from the aerated lagoon contained much higher SS concentration than the effluent from the activated sludge system. When considering the final effluent quality goals to meet the Thai effluent standard, the activated sludge system was more appropriate than the aerated lagoon system since the former produced much clearer effluent than the latter.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัดen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพen_US
dc.subjectไนตริฟิเคชันen_US
dc.titleการกำจัดไนโตรเจนในน้ำเสียด้วยระบบแอกทิเวตเต็ดสลัดจ์ และแอเรตเต็ดลากูนen_US
dc.title.alternativeNitrogen removal by activated sludge system and aerated lagoonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surachai_ya_front.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch1.pdf766.81 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch2.pdf256.12 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch3.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch4.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch5.pdf7.02 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch6.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_ch7.pdf524.01 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_ya_back.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.