Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47771
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยพิเศษกุล-
dc.contributor.advisorวัฒนา สุวรรณแสง จั่นเจริญ-
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ พุทธาศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-02T10:18:52Z-
dc.date.available2016-06-02T10:18:52Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746311557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47771-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์ของนโยบายทันตแพทย์ผู้ทำสัญญา รับราชการ 3 ปีหลังจากจบการศึกษา หรือจะต้องชดใช้เงิน 400,000 บาท ถ้าไม่ต้องการับราชการ ใช้การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ โดยศึกษาต้นทุนการผลิตทันตแพทย์จาก 5 สถาบัน และต้นทุนการทำงานของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน เปรียบเทียบกับผลได้จากการปฏิบัติงานทันตกรรม โดยใช้พื้นที่ศึกษาโรงพยาบาลชุมชนทั้งหมด ของจังหวัดขอนแก่น การศึกษาพบว่า ต้นทุนเฉลี่ยในการผลิต ทันตแพทย์ 1 คน เป็น 1,747,786.53 บาท (สูงสุดคือมหาวิทยาลัยมหิดล 2,512,412.64 บาท ต่ำสุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 976,683.13 บาท) ต้นทุนเฉลี่ยของการมีทันตแพทย์ทำงานในโรงพยาบาลชุมชน 92,762,53 บาท (ค่าสูงสุด 594,074.22 บาท) ในส่วนของผลได้จากการทำงานของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนของรัฐนั้น พบว่ามีค่าผลได้เฉลี่ยเป็น 294,949.17 บาท (ค่าสูงสุด 594,049.22 บาท และค่าต่ำสุด 69,197.22 บาท) การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ พบว่าจำนวนปีที่ทันตแพทย์ควรรับราชการ เพื่อให้ต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับผลได้เฉลี่ย คือ 8.64 ปี และกรณีที่ไม่ต้องการรับราชการ ก็ต้องชดใช้เงินจำนวน 3,494,679.10 บาท (ราคาปี 2537) จากผลการศึกษาใช้การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์นี้ จะสรุปได้ว่านโยบายทันตแพทย์ผู้ทำสัญญาในปัจจุบัน ยังไม่เหมาะสม และควรได้รับการปรับปรุง เพื่อให้ความเป็นธรรมต่อทันตแพทย์รัฐบาลและสังคมen_US
dc.description.abstractalternativeThe study was on economic analysis to show if the policy for compulsory dentist contracts was justified. Dentist had to work in community hospital for 3 years after graduated, otherwise paid back 400,000 baht to the government. The study wanted to know how much cost to produce one dentist, cost to work in community hospital and benefit from dental performance. The study showed the average cost to produce one dentist was 1,747,786.53 baht, the average cost to work in community hospital was 92,762.53 baht a year and the average benefit from dental practice was 294,949.17 baht a year. Finally, cost-benefit analysis showed number of years that dentist should work in community hospital was 8.64 years or paid back 3,494,679.10 baht (price at 1994) if dentist wanted to work in private practice. Conclussion of the study, the economic analysis found the policy was unsuitable. For suggestion, the policy should be improved to be fair for dentist, government and social.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลen_US
dc.subjectการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนen_US
dc.subjectทันตแพทย์en_US
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- แง่เศรษฐกิจen_US
dc.titleการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ เกี่ยวกับนโยบายทันตแพทย์ผู้ทำสัญญาen_US
dc.title.alternativeEconomic analysis of the policy for compulsory dentist contractsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorWattana.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weerasak_pu_front.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_ch1.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_ch2.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_ch3.pdf544.76 kBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_ch4.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_ch5.pdf611.43 kBAdobe PDFView/Open
Weerasak_pu_back.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.