Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorวรวุฒิ วิบูลย์ศิริชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-04T12:31:37Z-
dc.date.available2016-06-04T12:31:37Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745793841-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47868-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะได้ทราบถึงโครงสร้างของพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ ตามอนุสัญญาพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ ซึ่งประเทศไทยได้นำระบบดังกล่าวมาใช้แทนระบบเดิม โดยตราเป็นพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ.2530 ว่ามีผลดีและผลเสียอย่างไร และพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์นี้ มีความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ และการค้าของประเทศไทยในปัจจุบันหรือไม่อย่างไร การวิจัยพบว่า พิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ มีวิธีการจำแนกประเภทพิกัดสินค้าที่มีความละเอียดชัดเจนมากขึ้นกว่าระบบเดิม ซึ่งมีความเหมาะสมกับสภาพการค้าในปัจจุบัน ในส่วนของหลักเกณฑ์การพิจารณาจัดจำแนกประเภทพิกัดสินค้า ก็ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การตีความ เพื่อให้เหมาะสมกับชนิดของสินค้าที่มีอยู่ในปัจจุบัน ส่วนในกรณีของการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศภาคีที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ระบบฮาร์โมไนซ์ อนุสัญญาฉบับนี้ก็ได้มีการกำหนดไว้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน และมีองค์กรที่เข้ามารับผิดชอบในการระงับข้อพิพาท ซึ่งทำให้กระบวนการระงับข้อพิพาทเป็นไปอย่างมีระบบ และเหมาะสมกับสภาพของสังคมระหว่างประเทศในปัจจุบัน ส่วนผลที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยนั้น เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในระยะของการเปลี่ยนแปลงไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม และมุ่งส่งเสริมในด้านการค้ากับต่างประเทศ การนำพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์มาใช้ จึงเป็นการเหมาะสม ซึ่งทำให้ประเทศไทยเป็นที่เชื่อถือ และยอมรับจากนานาประเทศ และเป็นผลดีต่อการค้าในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to obtain knowledge about the structure of the harmonized system, according to the International Convention on the Harmonized Commodity Description and Coding System, which was proclaimed as the Customs Tariff Decree B.E. 2530 and used in replace of the previous system in Thailand. This is also to analyse its merits, demerits and suitability to the present economic and trading conditions of Thailand. From the research, it is found that the commodity classification method of the harmonized system is more precise than the previous one, which makes it suitable for the current trading condition. Additionally, its interpretation criteria on commodity classification was amended to suit the existing commodity. Moreover, a systematic procedure and an organization were established to suspend the international dispute caused by the use of harmonized system. This is suitable for the present international society. In conclusion, the harmonized commodity description and coding system is suited for Thailand, who is in the changing process to be a newly industrialized country and promotes the international trading since the harmonized system will cause Thailand reliable and acceptable at international level and benefit her trade in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศุลกากรen_US
dc.subjectพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์en_US
dc.titleผลที่เกิดขึ้นภายหลังการนำพิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์มาใช้ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe effects after the implementation of the harmonized system based tariff in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChumphorn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waravut_Vi_front.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open
Waravut_Vi_ch1.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open
Waravut_Vi_ch2.pdf8 MBAdobe PDFView/Open
Waravut_Vi_ch3.pdf6.88 MBAdobe PDFView/Open
Waravut_Vi_ch4.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Waravut_Vi_back.pdf6.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.