Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSirichai Dharmvanij-
dc.contributor.advisorManuwadi Hungspreugs-
dc.contributor.authorWatana Sukasem-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2016-06-06T03:39:12Z-
dc.date.available2016-06-06T03:39:12Z-
dc.date.issued1989-
dc.identifier.isbn9745765414-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47920-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1989en_US
dc.description.abstractThe solvent extraction of trace metals in seawater has been investigated in order to improve the method by collating the good points of every procedures of solvent extraction proposed for the analysis of seawater. The APDC-MIBK Extraction System followed by back extraction with nitric acid is chosen for this study. It is found that the optimized conditions for first extraction of Cu, Ni, Pb and Zn in 100 ml treated seawater sample are as follows : the concentration of APDC is 5 ml 2% (w/v), the volume of organic solvent, MIBK, is 5 ml and shaking time for the first extraction is 4 min. The optimium pH of seawater is in the range 4-6 which should be adjusted prior to the addition of APDC and MIBK. For the back extraction, 5 ml of 4N nitric acid is used and shaking time for the back extraction is 5 min.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสกัดโลหะปริมาณน้อยในน้ำทะเลด้วยตัวทำละลายในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อทำการปรับปรุง เพื่อทำการปรับปรุงวิธีการสกัดให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยพิจารณาเลือกใช้ข้อดีในแต่ละขั้นตอนของวิธีการสกัดทีได้รับการพัฒนามาจากในอดีตจนถึงปัจจุบัน ในการศึกษาครั้งนี้ เลือกใช้วิธีการสกัดแบบ APDC-MIBK และทำการสกัดซ้ำด้วยกรดในตริกในการวิเคราะห์ ทองแดง นิเกิล ตะกั่ว และสังกะสี ในน้ำทะเลตัวอย่าง ปริมาณ 100 มล. ผลจากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ประสิทธิภาพการสกัดที่เหมาะสมที่สุด จะใช้ปริมาณของสารสะลาย APDC ปริมาณ 5 มล. ที่ความเข้มข้น 2% (w/v) ปริมาณ MIBK ที่ใช้เท่ากับ 5 มล. และเวลาที่ใช้ในการเขย่าเพื่อทำการสกัดครั้งแรก เท่ากับ 4 นาที จะให้ผลในการสกัดโลหะปริมาณน้อยได้ดี นอกจากนี้ ขั้นตอนในการสกัด จะต้องทำการปรับค่า pH ของสารละลายตัวอย่างก่อนที่จะทำการเติมสารละลาย APDC และ MIBK ช่วงของ pH ที่เหมาะสมในการสกัดโลหะตัวที่ศึกษา คือ 4-6 สำหรับการสกัดในครั้งที่สองนั้น ปริมาณของกรดไนตริกความเข้มข้น 4 นอร์มัล ที่ใช้ คือ 5 มล. และเวลาที่ใช้ในการเขย่าเพื่อทำการสกัดครั้งที่สอง เท่ากับ 5 นาทีen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleImprovement of solvent extraction method for trace metals in seawateren_US
dc.title.alternativeการปรับปรุงวิธีการสกัดโลหะปริมาณน้อยในน้ำทะเลด้วยตัวทำละลายen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMarine Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSirichai.D@Chula.ac.th-
dc.email.advisorManuwadi.H@Chula.ac.th, manuwadi@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watana_su_front.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_ch1.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_ch2.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_ch3.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_ch4.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_ch5.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Watana_su_back.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.