Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ หุยประเสริฐ-
dc.contributor.advisorนันทวัน บุณยะประภัศร-
dc.contributor.authorวัลย์วิสา วิจิตรพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-06T07:14:16Z-
dc.date.available2016-06-06T07:14:16Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745765872-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractการศึกษาประสิทธิภาพการกันแดดของสารสกัดจากวุ้นของว่านหางจระเข้ ในอาสาสมัคร 40 ราย สีผิวชนิดที่ 3-4 อายุ 20-35 ปี โดยการฉายแสงอุลตราไวโอเลตบี ในบริเวณที่ทาสารดังกล่าวเปรียบเทียบกับบริเวณที่ทาครีมกันแดดมาตรฐาน (5% พาราอะมิโนเบนโซอิคแอซิด), บริเวณที่ทาวุ้นสดจากใบว่านและบริเวณที่ทายาเปรียบเทียบ (ครีมเบส) ใช้ระยะเวลาที่ทำให้ผิวหนังอักเสบแดงน้อยที่สุด โดยเห็นขอบชัด 4 ด้าน (Minimum Erythema Dose) เป็นตัววัด พบว่าสารสกัดจากวุ้นของใบว่านหางจระเข้ไม่สามารถกันแดดได้เมื่อเปรียบเทียบกับยากันแดดมาตรฐาน ซึ่งสามารถกันแดดได้ 4-6 เท่าของยาเปรียบเทียบ และสารสกัดจากวุ้นของใบหางจระเข้นี้ มีประสิทธิภาพเกี่ยวกับเรื่องกันแดดไม่แตกต่างจากวุ้นสดจากใบ และยาเปรียบเทียบen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was designed to study sunscreen efficacy of aloe vera gel-extract; in 40 volunteers, skin type III-IV, age 20-35 years, comparing with standard sunscreen (5% para-aminobenzoic acid cream), crude aloe vera gel and cream base. Using Ultraviotet B-light source as a source of energy representing sunburn radiation, we measured Minimum Erythema Dose (MED) of Ultraviolet B for the parameter of sunscreen efficacy. The result is that aloe vera gel-extract can minimally screen sunburn radiation, whereas 5% para-aminobenzoic acid cream can protect it with a Sun Protection Factor about 4-6 times of cream base comparatively. However, aloe vera gel extract is the same as crude aloe vera gel and cream base in their sunsereen efficacy, without any side effect.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectว่านหางจระเข้en_US
dc.subjectพืชสมุนไพรen_US
dc.subjectยาทากันแดดen_US
dc.subjectพาราอะมิโนเบนโซอิคแอซิดen_US
dc.subjectการทดสอบทางผิวหนังen_US
dc.subjectรังสีเหนือม่วงen_US
dc.titleประสิทธิภาพการกันแดดของสารสกัดจากวุ้นของว่านหางจระเข้ เปรียบเทียบกับยากันแดดมาตรฐาน (5% พาราอะมิโนเบนโซอิคแอซิด)en_US
dc.title.alternativeSunscreen efficacy of aloe vera gel extract comparing with standard sunscreen (5 para-aminobenzoic acid)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanwisa_vi_front.pdf933.97 kBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_ch1.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_ch2.pdf657.47 kBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_ch3.pdf621.48 kBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_ch4.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_ch5.pdf315.21 kBAdobe PDFView/Open
Wanwisa_vi_back.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.