Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย สมศิริ-
dc.contributor.authorสมมิตร เลิศวีระวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-06T08:07:20Z-
dc.date.available2016-06-06T08:07:20Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746367161-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47942-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการทำแอโนดิกทรีตเมนต์ในสารละลายโซเดียมคาร์บอเนตก่อนที่จะทำไดโครเมตพาสซิเวชั่น ที่มีผลต่อชั้นพาสซิเวชั่นของดีบุกโดยพิจารณาองค์ประกอบทางเคมี และชั้นพาสซิเวชั่น ด้วยวิธี ESCA ใช้ร่วมกับวิธีการปาดชั้นของอะตอมโดยการกระแทกด้วยอิออนของธาตุอาร์กอนจากนั้นก็ทำการทดสอบความสามารถในการต้านทางการกัดกร่อน การทำแอโนดิกทรีตเมนต์ ชิ้นงานดีบุกในสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต ที่มีความเข้มข้น 10 กรัมต่อลิตรอุณหภูมิ 25 องศาเซนติเกรดโดยใช้ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้าในช่วง 1-67 มิลลิแอมป์แปร์ต่อตารางเซนติเมตรเมื่อชิ้นงานผ่านการทำแอโนดิกทรีตเมนต์แล้วก็จะทำไดโครเมตพาสซิเวชั่นในสารละลาย ซึ่งประกอบด้วยไดโครเมต และโครเมียมไตรออกไซด์โดยมีอัตราส่วน 4 ต่อ 1 การวิจัยพบว่าการทำแอโนดิกทรีตเมนต์ที่ค่าความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า 40 มิลลิแอมป์แปร์ต่อตารางเซนติเมตร จะมีผลต่อองค์ประกอบของชั้นพาสซิเวชั่นโดยจะทำให้ออกไซด์ของโครเมียมมีความหนาเป็น 6 เท่าและออกไซด์ของดีบุกมีความหนาเป็น 3 เท่าและพบว่าออกซิเจนอะตอมสามารถเข้าไปในเนื้อชิ้นงานได้ลึก 3.6 เท่าโดยความสามารถในการต้านทางการกัดกร่อนมีค่า เป็น 6 เท่า ของชิ้นงานที่ผ่านการทำไดโครเมตพาสซิเวชั่นเพียงอย่างเดียวและสามารถหาค่า อัตราการปาดชั้นอะตอมของชั้นพาสซิเวชั่น บนชิ้นงานดีบุก ที่ไม่ผ่านการทรีตเมนต์ได้ 19 อังสตรอมต่อนาทีen_US
dc.description.abstractalternativeThe main objectives are to study effects of sodium carbonate anodic treatment prior to cathodic treatment on dichromate passivated layers of tin. The anodic treatment of tin samples were performed in 10 g/I sodium carbonate solution at 25O C. Current density applied was ranging from 1-67 mA/cm2 .The anodically treated tin samples were later passivated in aqueous solution containing Na2Cr2O7 and CrO3 at ratio of 4:1. It was found that the anodic treatment at the current density of 40 mA/cm2 had profound effects on the compositions of the passivated layers. The chromium oxide’s thickness found to be 6 times thicker and the tin oxide’s thickness was 3 times thicker and oxygen atoms were detected in the specimen from the surface’s depth about 3.6 times and the corrosion resistance was 6 times better than in the sample which had not been anodically treated. The passivated layers were analysed by ESCA and Argon ion sputtering technique and it was found that the sputtering rate of Sn in SnO2was 19 Ao /min.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของการทำแอโนดิกทรีตเมนต์ในสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต ต่อชั้นที่ถูกพาสซิเวตด้วยไดโครเมตบนดีบุกen_US
dc.title.alternativeEffects of sodium carbonate solution anodic treatment on dichromate passivated layers of tinen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfmtens@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sommit_le_front.pdf687.18 kBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_ch1.pdf256.05 kBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_ch2.pdf327.32 kBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_ch3.pdf657.53 kBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_ch4.pdf594.43 kBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_ch5.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Sommit_le_back.pdf430.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.