Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ วราภักดิ์-
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ เตชะทรงชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-07T07:21:50Z-
dc.date.available2016-06-07T07:21:50Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746343521-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอำนาจการทดสอบของตัวสถิติ ที่ใช้ตรวจสอบปัญหา ความคลาดเคลื่อนสุ่มมีความแปรปรวนไม่คงที่ในตัวแบบความถดถอยเชิงเส้น 3 วิธี คือ 1. การทดสอบแจ็คไนฟ์ 2. การทดสอบด้วยอัตราส่วนภาวะน่าจะเป็น 3. การทดสอบของบาร์เลตต์ เมื่อข้อมูลถูกแบ่งเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม โดยกำหนดให้มีกรณีความคลาดเคลื่อนสุ่มมีการแจกแจงปกติที่มีค่าเฉลี่ยคงที่เท่ากับ 0 และ 100 และกรณีที่ความคลาดเคลื่อนสุ่มมีการแจกแจงปกติปลอมปนที่มีค่าเฉลี่ยคงที่เท่ากับ 0 และ 100 และความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนในแต่ละกลุ่มมีอัตราส่วนเพิ่มขึ้นจากกลุ่ม 1< กลุ่ม 2< กลุ่ม 3< กลุ่ม 4 และใช้หลักเกณฑ์ของนอนเซ็นทรัลลิตี้ พารามิเตอร์ เพื่อแบ่งขนาดของความแตกต่างของความแปรปรวนให้มีขนาดความแตกต่างน้อย, ปานกลาง, มาก ขนาดของตัวอย่างในแต่ละกลุ่มกำหนดเป็น 10, 20, 30 สำหรับข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้จากการจำลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โล บนเครื่องคอมพิวเตอร์ Acer Power PT560o Pentium Processor 500 ครั้ง สำหรับแต่ละสถานการณ์ที่กำหนดในการคำนวณหาค่าความน่าจะเป็นของการเกิด ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และค่าอำนาจการทดสอบของการทดสอบทั้ง 3 วิธี ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การทดสอบทั้ง 3 วิธี สามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ตามเกณฑ์ของ Bradley ที่ระดับนัยสำคัญเท่ากับ 0.01 และ 0.05 2. การทดสอบแจ็คไนฟ์ที่จะมีค่าอำนาจการทดสอบสูงสุด เมื่อความคลาดเคลื่อนมีการแจกแจงแบบปกติ ที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากับ 20 และ 30 3. การทดสอบด้วยอัตราส่วนภาวะน่าจะเป็นจะมีค่าอำนาจการทดสอบสูงสุด เมื่อความคลาดเคลื่อนมีการแจกแจงแบบปกติที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากับ 10 และเมื่อความคลาดเคลื่อนมีการแจกแจงแบบปกติปลอมปนที่เปอร์เซ็นต์การปลอมปนเท่ากับ 5% และ 10% และขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากับ 10, 20 และ 30 4. ค่าเฉลี่ยของการแจกแจงไม่มีผลต่อระดับอำนาจการทดสอบในแต่ละกรณีที่ทำการศึกษา 5. ค่าสเกลคอนทามิเนตจะมีผลต่อค่าอำนาจการทดสอบคือ เมื่อค่าสเกลคอนทามิเนตสูงขึ้นอำนาจ การทดสอบจะมีค่าสูงขึ้นในระดับอัตราส่วนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนเดียวกัน สำหรับเปอร์เซ็นต์การปลอมปนจะมีผลต่อค่าอำนาจการทดสอบคือ เมื่อเปอร์เซ็นต์การปลอมปนสูงขึ้นอำนาจการทดสอบจะต่ำลงในระดับอัตราส่วนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนเดียวกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to compare the test statistics for heteroscedasticity in simple linear regression model of three methods namely, 1.Jackknife test 2. Likelihod Ratio test 3. Bartlette’s test, when the observation was grouped which is 4 groups. The distribution of random error was normal and scale contaminated normal with the constant mean 0 and 100. The variance of random error in each group was increasing ratio, group1 < group2 < group3 < group 4. The Noncentrality Parameter was used to set variance of random error. The sample size in each group was 10, 20 and 30. The data for this experiment were obtained through simulation using the Monte Carlo technique. The Acer Power PT560o Pentium Processor was used to calculate the probability of Type I error and the power of the test using all three statistics. For each the experiment was repeated 500 times. Results of the study are as follow: 1. The three methods can control probability of type I error with Bradley’s rule at 0.01 and 0.05 significance. 2. Jackknife test is the most powerful for the distribution of error is normal model when sample size in each group is 20 and 30. 3. Likelihood Ratio test is the most powerful for the distribution of error is normal when sample size in each group is 10 and the distribution of error is scale contaminated normal when percent of scale contaminated is 5% and 10% and sample size in each group is 10, 20 and 30. 5. When scale contaminated is increasing the power of the test is increasing too but for which percent of scale contaminated is increasing the power of the test is decreasing.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ความแปรปรวนen_US
dc.subjectการวิเคราะห์การถดถอยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)en_US
dc.subjectการแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น)en_US
dc.titleการเปรียบเทียบตัวสถิติสำหรับการทดสอบความแปรปรวนที่ไม่คงที่ ของความคลาดเคลื่อนในตัวแบบความถดถอยเชิงเส้น เมื่อข้อมูลถูกแบ่งเป็นกลุ่มen_US
dc.title.alternativeA comparison of the test statistics for heteroscedasticity in simple linear regression model with grouped dataen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rung-Arun_te_front.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_ch1.pdf442.81 kBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_ch2.pdf334.38 kBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_ch3.pdf334.15 kBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_ch4.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_ch5.pdf844.89 kBAdobe PDFView/Open
Rung-Arun_te_back.pdf983.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.