Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ จิตระดับ-
dc.contributor.advisorพึงจิตต์ สวามิภักดิ์-
dc.contributor.authorวัฒนา มัคคสมัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T01:19:07Z-
dc.date.available2016-06-08T01:19:07Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745660191-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48141-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทดลองสอนโน้ตสากลเบื้องต้น โดยใช้เพลงพื้นบ้านอีสานแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และเพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโน้ตสากลเบื้องต้นจากแผนการสอนปกติกับแผนการสอนที่ใช้เพลงพื้นบ้านอีสาน วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยกระทำโดยวิธีการทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนบ้านสระภู อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 58 คน ด้วยวิธีจัดกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสองกลุ่มแบบจัดคู่คะแนน จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ประจำภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2527 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองโดยวิธีสุ่มอย่างง่าย ให้กลุ่มควบคุมเรียนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ และกลุ่มทดลองเรียนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนโน้ตสากลเบื้องต้นโดยใช้เพลงพื้นบ้านอีสานที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อการทดลองครั้งนี้ โดยการยึดเอาความคิดรวบยอด วัตถุประสงค์ และเวลาเรียนตามแผนการสอนโน้ตสากลเบื้องต้นของกระทรวงศึกษาธิการ สังเกตพฤติกรรมการเรียนระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แล้วเปรียบเทียบผลการเรียนทางด้านผลสัมฤทธิ์และพฤติกรรมการเรียนระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองโดยใช้ t -test ผลการวิจัย ผลของการทดลองปรากฏว่า กลุ่มทดลองที่เรียนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนโน้ตสากลเบื้องต้นโดยใช้เพลงพื้นบ้านอีสาน กับกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีสอนตามแผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ มีผลการเรียนทางด้านผลสัมฤทธิ์แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 แต่ผลการเรียนทางด้านพฤติกรรมทางการเรียนไม่แตกต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativePurpose The purposes of this study were to experiment teaching Fundamental Music Notations by using I-SAN Folk Songs to Prathom Suksa Three Students and to find out whether there is significant difference in academic achievement of Prathom Suksa Three Students who learn Fundamental Music Notations by the lesson plans designed by using I-SAN Folk Songs and those designed by the Ministry of Education. Procedures The experiment was conducted with 58 Prathom Suksa Three Students from Ban Srapoo School Uthumpornpisai District Srisaket Province. They were devided into two groups and were matched by pair according to the final examination scores in the area of Character Development. The control group was taught by using the Ministry of Education lesson plans. The experimental group was taught by the lesson plans that the reasearcher constructed by using I-SAN Folk Songs and using the concept, the purpose and the period of times in learning from the lesson plans designed by the Ministry of Education. Having observed the learning behavior during the experiment and compared the achievement of both groups by their respective lesson. The t-test was then employed for analyzing the data. Finding It was found that there was significant difference at the .01 level in the achievement of Prathom Suksa Three Students who learned the content in the Fundamental Music Notations by using reasearcher lesson plans, utilizing I-SAN Folk Songs and those designed by the Ministry of Education. There was no significant difference in the learning behavior.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโน้ตเพลง -- การศึกษาการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectเพลงพื้นเมือง -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)en_US
dc.subjecteducational systemsen_US
dc.subjectcultureen_US
dc.subjectarten_US
dc.titleการทดลองสอนโน้ตสากลเบื้องต้น โดยใช้เพลงพื้นบ้านอีสานแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeAn experiment on teaching Fundamental Music Notations by using I-SAN Folk Songs to prathom suksa three students in the Northeastern regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomphong.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watana_ma_front.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_ch1.pdf949.95 kBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_ch2.pdf6.31 MBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_ch3.pdf820.66 kBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_ch4.pdf564.84 kBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_ch5.pdf975.2 kBAdobe PDFView/Open
Watana_ma_back.pdf9.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.