Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48240
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเรศ ศรีสถิตย์ | - |
dc.contributor.advisor | มานพ ศิริวรกุล | - |
dc.contributor.author | ลักษณี คณานิธินันท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-08T04:19:20Z | - |
dc.date.available | 2016-06-08T04:19:20Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746368206 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48240 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาประสิทธิภาพของพืชโผล่พ้นน้ำ 4 ชนิดคือ กกกมล ธูปฤาษี อ้อ และแห้วทรงกระเทียมในพื้นที่ชุ่มน้ำที่สร้างขึ้นเพื่อการบำบัดโครเมียมในน้ำเสียจากโรงงานอุตลาหกรรมชุบโลหะรวมถึงการเติบโตและการอยู่รอดของพืชทั้ง 4 ชนิด พบว่าปริมาณโครเมียมในน้ำที่เข้าสู่บ่อทดลองต่างๆ ระหว่างการทดลองมีค่าอยู่ในช่วง 2.864 – 20.926 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่าเฉลี่ยตลอดการทดลองเท่ากับ 7.613 มิลลิกรัมต่อลิตร และบ่อทดลองปลูกพืชทั้ง 4 ชนิดสามารถลดปริมาณโครเมียมได้สูงกว่าร้อยละ 94 โดยบ่อทดลองที่มีประสิทธิภาพสูงสุดคือบ่อทดลองกกกลมสูงถึงร้อยละ 98.21 รองลงมาคือบ่อทดลองแห้วทรงกระเทียมเท่ากับร้อยละ 95.96 ส่วนบ่อธูปฤาษีและอ้อเท่ากับร้อยละ 95.90 และ 94.87 ตามลำดับสำหรับบ่อควบคุมไม่ปลูกพืชมีประสิทธิภาพเฉลี่ยต่ำสุด คือเท่ากับร้อยละ 89.13 ซึ่งต่ำกว่าบ่อกกกลมเท่ากับร้อยละ 9.10 และเมื่อทำการศึกษาถึงการเติบโตของพืชทั้ง 4 ชนิดในบ่อทดลองเทียมกับบ่อควบคุมพืชตลอดการทดลองโดยศึกษาถึงน้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและความสูงพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระหว่างบ่อทดลองและบ่อควบคุมพืช นอกจากนั้นยังทำการศึกษาถึงการสะสมโครเมียมในดินและในพืชปรากฏว่าดินและพืชมีปริมาณโครเมียมเพิ่มขึ้นตามเวลา โดยดินมีปริมาณโครเมียมเฉลี่ยใกล้เคียงกันทุกบ่อ และมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 29.156 ไมโครกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้งสำหรับในพืชพบว่าแห้วทรงกระเทียมมีปริมาณการสะสมโครเมียมเมื่อสิ้นสุดการทดลองสูงสุด คือเท่ากับ 397.150 ไมโครกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้งแต่มีค่าน้ำหนักลด น้ำหนักแห้งต่ำที่สุด และเมื่อพิจารณามวลรวมพบว่า โครเมียมส่วนใหญ่ถูกสะสมอยู่ในดิน ซึ่งมีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายมากกว่าในพืช กล่าวคือมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณโครเมียมทั้งหมดในระบบอยู่ในดิน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The efficiency of constructed wetlands to remove chromium in electroplating wastewater was studied with four emergent plants, Cyperus corymbosus, Typha angustifolia, Phragmites australis, and Eleocharis dulcis. Nine pilot scale constructed wetlands were built, in which 5 units were used for removal study and the rest were used as the controls. During experimental period, chromium concentration were in range of 2.824 – 20.923 mg/l and the average was 7.613 mg/l. The best efficiency was found in Cyperus as high as 98.21 % while the efficiencies of Eleocharis, Typha and Phragmites were 95.96, 95.90 and 94.87%, respectively. And the lowest efficiency was found in control unit, 89.13%, which was 9.1% lower than the highest efficiency, Cyperus. Growth of each plant was also compared between experimental and control unit in fresh weight, dry weight and height during the experimental period but no statistically significant difference at p=0.05. Accumulation of chromium in soil and plant were also studied and tended to increase with passage of time. Average of chromium in each soil pilot unit was slightly different and the highest mean was 29.156 ug/g dry weight. In plant, Eleocharis dulcis showed the maximum chromium concentration, 397.150 ug/g dry weight, at the end of the experiment, but had the lowest weight per unit. Mass balance showed that more than 90 % of total chromium disappeared from the water was found in the soil. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพของกกกลม Cyperus corymbosus ธูปฤาษี Typha angustifolia อ้อ Phragmites australis และแห้วทรงกระเทียม Eleocharis dulcis ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่สร้างขั้นเพื่อการบำบัดโครเมียมในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมชุบโลหะ | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency of Cyperus corymbosus, Typha angustifolia, Phragmites australis, and Eleocharis dulcis in constructed wetlands for chromium treatment of electroplating industrial wastewater | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Thares.S@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Laksanee_ka_front.pdf | 886.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_ch1.pdf | 319.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_ch2.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_ch3.pdf | 617.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_ch4.pdf | 3.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_ch5.pdf | 227.82 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Laksanee_ka_back.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.