Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48262
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อมราวดี อังคสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | สุวรรณ ทองเนื้อแข็ง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-08T04:45:58Z | - |
dc.date.available | 2016-06-08T04:45:58Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746345818 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48262 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบังคับโทษปรับในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนได้ศึกษาเฉพาะกรณีการนำวิธีการผ่อนชำระค่าปรับมาใช้ในการบังคับโทษปรับ ประมวลกฎหมายอาญาของไทย มาตรา 29.30 ได้บัญญัติหลักเกณฑ์และขั้นตอนของการบังคับโทษปรับเอาไว้ กล่าวคือ จำเลยต้อนำค่าปรับตามคำพิพากษามาชำระต่อศาลภายในกำหนดเวลา 30 วัน หากว่าจำเลยฝ่าฝืนไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดนั้น ก็จะต้องถูกยึดทรัพย์ หรือถูกกักขังแทนค่าปรับ ในทางปฏิบัติศาลจะไม่ใช่วิธีการยึดทรัพย์เพราะเป็นการยุ่งยากและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย แต่จะกักขังแทนค่าปรับ กรณีที่จำเลยเป็นคนยากจนไม่สามารถชำระค่าปรับได้ทันในกำหนดจะต้องถูกกักขังแทนค่าปรับ ซึ่งเป็นการไม่สอดคล้องตามความมุ่งหมายของคำพิพากษาที่ลงโทษปรับ อีกทั้ง การกักขังแทนค่าปรับมีลักษณะคล้ายคลึงกับการจำคุกระยะสั้นที่ความหมายส่วนหนึ่งของโทษปรับต้องการหลีกเลี่ยงอยู่ด้วยในกรณีที่จำเลยเป็นคนยากจน เมื่อจำเลยต้องโทษปรับประมวลกฎหมายอาญาของไทยยังไม่ทีบทบัญญัติให้อำนาจศาลในการใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยผ่อนชำระค่าปรับไว้อย่างชัดเจนโดยตรง การบังคับโทษปรับศาลจึงอาศัยการตีความกฎหมายอนุญาตให้จำเลยผ่อนชำระค่าปรับ ในกฎหมายของต่างประเทศมีการกำหนดไว้ชัดเจนว่าในการบังคับโทษปรับ ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยผ่อนชำระค่าปรับโดยนำค่าปรับมาชำระต่อศาลเป็นงวดๆ เมื่อได้พิจารณาถึง ลักษณะความร้ายแรงของความผิด ประวัติลักษณะนิสัยและฐานะทางเศรษฐกิจของจำเลยประกอบแล้ว ดังนั้นเพื่อให้ความเป็นธรรมกับจำเลยที่มีฐานะทางการเงินไม่ดีจะได้ไม่ต้องถูกกักขังแทนค่าปรับและป้องกันการเกิดปัญหาในการตีความที่อาจจะมีความเป็นที่ต่างกันได้ จึงควรที่จะมีการบัญญัติกฎหมายเพิ่มเติมให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจอนุญาตให้จำเลยผ่อนชำระค่าปรับไว้ให้ชัดเจนตามแบบอย่างของต่างประเทศ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis was studied in case of the enforcement of fine by installment. The Thai Penal Code section 29, 30 provides that if any person sentenced to a fine fails to pay the fine within thirty days as from the day on which the Court has passed judgment, his property shall be seized to pay for the fine, or else he shall be confined in lieu of fine. In fact court practically does not seize the defendant's property but orders him to be confined in lieu of fine. In case of the defendant is poor and cannot pay a fine in the period of time specified in the judgment, he must be confined in lieu of fine which it is not the objective by the judgment, orthervise the confinement in lieu of fine is similar to the short imprisonment which part of the fine intent to avoid. In case of the defendant is poor and imposed the fine, the Thai Penal Code does not authorized the court to permit defendant to pay a fine by installment. In the enforcement of fine the judge have to be interpret laws in order to permit the defendant pay a fine by installment. In the foreign Penal Code is precisly provided that in the enforcement of the fine the court has the discretion to permit the defendant paying a by installment after cconsiders about the gravity of the offence, character of the defendant or his means. So, it should be provided in the Thai Penal Code that the court has a discretion to permit the defendant paying a fine by installment if consideres the defendant can not pay a fine in the period of time specified in the judgment. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การลงโทษ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | ค่าปรับ | en_US |
dc.subject | โทษปรับ | en_US |
dc.title | การบังคับโทษปรับ | en_US |
dc.title.alternative | Enforcement of fine | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwan_th_front.pdf | 530.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_ch1.pdf | 548.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_ch2.pdf | 3.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_ch3.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_ch4.pdf | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_ch5.pdf | 911.95 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwan_th_back.pdf | 367.68 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.