Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48320
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ สัจกุล | - |
dc.contributor.author | รัชดา ภุมรินทร์วรากุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-08T08:22:55Z | - |
dc.date.available | 2016-06-08T08:22:55Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.isbn | 9746318381 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48320 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ฉบับนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในการส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างยุวชนให้เป็นสุภาพบุรุษ ผลการศึกษาพบว่า แนวพระราชดำริทางการศึกษาของพระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะให้นักเรียนเป็นคนมีคุณภาพ กล่าวคือ มีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ มีความสามัคคีในหมู่คณะมีมนุษยธรรม ระเบียบวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ มีน้ำใจเป็นนักกีฬา มานะอดทน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่เอาเปรียบผู้อื่น มีความกล้าหาญ กตัญญู ฯลฯ โดยทรงจัดตั้งโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ขึ้น 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง มีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ที่สำเร็จการศึกษารับราชการเป็นข้าราชบริพารหรือมหาดเล็กประจำราชสำนัก โรงเรียนราชวิทยาลัยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนมีความรู้ในวิชาภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ รวมทั้งการอบรมให้คุ้นเคยกับวัฒนธรรมตะวันตกอันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อต่างประเทศ และเข้ารับราชการในกระทรวงต่างๆ โรงเรียนพรานหลวงเป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นเพื่อการทำนุบำรุงศิลปนาฎศิลป์และดนตรี โดยให้การศึกาาวิชาสามัญแก่ข้าราชการในกรมมหรสพควบคู่ไปกับการฝึกหัดวิชาศิลปะและโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ จัดเป็นสาขาที่สองของโรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพฯ ซึ่งโรงเรียนทั้ง 4 แห่ง มีวัตถุประสงค์หลักร่วมกันในการปลูกฝังให้นักเรียนเป็นสุภาพบุรุษ โดยได้ดำเนินการจัดการศึกษาและวิธีอบรมนักเรียนตามแนวพระราชดำริ กล่าวคือมีรูปแบบการจัดดรงเรียนแบบพับลิกสกูลของประเทศอังกฤษ โดยผสมผสานกับวิธีการอบรมแบบไทย เพื่อให้เป็นผู้มีความรู้ในวิชาการต่างๆ เป็นผู้มีศาสนาเพื่อเป็นหลักในการประพฤติตน มีความเป็นผู้ดี คือ มีบุคคลิกภาพ อุปนิสัยใจคอ ผลการจัดการศึกษาตามแนวพระราชดำริของพระองค์ได้ผลคนที่มีคุณภาพ มีความเป็นสุภาพบุรุษตรงตามพระราชประสงค์ และสำเร็จการศึกษามาประกอบอาชีพในหน้าที่การงานต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to study King Rama VI’s thoughts on the educational enhancement of the youth’s gentlemanliness. The findings of this study indicate that the King’s thoughts were meant to bring up the students to be qualified youths, to love the nation, the religion and the king, to be unified, to be humanistic, to have discipline, honesty, responsibility, sportsmanship, perservance, hospitality, unselfishness, courage, gratefulness, etc. Therefore, His Majesty the King had established four schools under the royal patronage, namely the Royal Pages College which aimed to turn out graduates who would become civil servants, royal servants, or the Court’s royal pages; the King’s College School aimed to instill its students with the knowledge of foreign languages, especially English, including familiarizing the students with western culture which was the foundation for studying abroad and for working in various ministries. The Phran Lung School was founded to foster drama and music and to provide the education of ordinary subjects to the civil servants of the Royal Entertainment Department together with the learning of drama courses and the training of Thai dramatic skills, and the Chiang Mai Royal Pages College was the second branch of the Royal Page College in Bangkok, Actually those four schools upheld a common purpose: they built up the youth to be gentlemen through the educational administration and the training techniques according to the King’s thoughts, that is, the pattern of the school was similar to that of an English public school and integrated it with the Thai style of training the youth. In this way, the youth would be educated in various academic subjects, would be religious and would have behavioral principles. The youth would be young gentlemen, i.e., would have a good personality and a good character. The educational administration according to the royal thoughts resulted in the product of qualified men equipped with gentlemanliness as desired by the King. These graduates could earn their living in different professions profitable for their society and their country. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, 2423-2468 | en_US |
dc.subject | การศึกษา -- ไทย -- รัชกาลที่ 6,2453-2468 | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างยุวชนให้เป็นสุภาพบุรุษ | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of the King Rama VI's thoughts on the educational enhancement of the youth's gentlemanliness | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พื้นฐานการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Kanniga.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rachada_pu_front.pdf | 712.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch1.pdf | 841.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch2.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch3.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch4.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch5.pdf | 4.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch6.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch7.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_ch8.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachada_pu_back.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.