Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติวรรณ อมาตยกุล-
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว-
dc.contributor.authorวีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T09:57:19Z-
dc.date.available2016-06-08T09:57:19Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746327887-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48337-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกอาสนะและสมาธิตามแนวนีโอฮิวแมนนิส ต่อการเพิ่มความเห็นคุณค่าในตนเอง ของสตรีในสถานสงเคราะห์หญิงบ้านเกร็ดตระการ โดยมีสมมุติฐานของการวิจัยว่า สตรีที่ผ่านการฝึกอาสนะและสมาธิตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสจะมีความเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่าสตรีที่ไม่ได้ฝึกอาสนะและสมาธิตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส ใช้การวิจัยกึ่งทดลอง โดยรูปแบบการทดลองมีสองกลุ่มคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีในสถานสงเคราะห์หญิงบ้านเกร็ดตระการที่ได้รับการสงเคราะห์ในปี พ.ศ. 2538 ที่อาสาสมัคร อายุระหว่าง 16-30 ปี จำนวน 16 คน โดยสุ่มแบบเจาะจงและจับคู่เหมือนโดยยึดคะแนนความเห็นคุณค่าในตนเองที่ทดสอบก่อนการทดลอง เป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 8 กลุ่มทดลองเข้าร่วมการฝึกอาสนะและสมาธิตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส เป็นเวลา 30 วัน วันละ 2 ชั่วโมง รวมเป็นเวลา 60 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบวัดความเห็นคุณค่าในตนเอง และแบบสัมภาษณ์ความเห็นคุณค่าในตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความเห็นคุณค่าในตนเองและค่าเฉลี่ยคะแนนการประมาณค่าความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ด้วยวิธีการทดสอบค่าที่ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ นำข้อมูลมาตีความ แยกแยะและสรุปผลว่า พฤติกรรมและสภาพอารมณ์ที่กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมตอนมาสอดคล้องกับความเป็นในตนเองสูงหรือเปล่า ผลการวิจัยพบว่า ความเห็นคุณค่าในตนเองระยะหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สภาพอารมณ์และพฤติกรรมของกลุ่มทดลอง หลังการทดลองมีสภาพอารมณ์ด้านบวก มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความเห็นคุณค่าในตนเองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of asanas and meditation training according to Neo-Humaist's Concept on increasing self-esteem of women in Kredtrakarn Home for Socially Handicapped Women. The hypothesis was that the women participated in asanas and meditation training according to Neo-Humaist's Concept that self-esteem would be higher than that of the women did not participated in asanas and meditation training. The research methodology was Quasi Experimental Research. The research design was The was The Pretest Posttest Control Group Design. The 16 sample subjects were women in Kredtakarn Home for Socially Handicapped Women during the year 1995, 16-30 years of age who volunteered to participate in asanas and meditation training according to Neo-Humanist's Concept. The subjects were selected through the purposive sampling and matching by use the pretest of score on the self-esteem into two groups that were experimental group and control group, 8-persons for each. The experimental group participated in asanas and meditation training according to Neo-Humanist's Concept for two hours per day for 30 days altogether wile made 60 hours. The instruments used in this research were the self-esteem inventory and the self-esteem interview schedule. The t-test was utilized for the data analyzing from the self-esteem inventory and part of self-esteem interview schedule. The explanation, analysis and conclusion were utilized for analyzing the data from the self-esteem interview schedule. The obtained results were that the posttest self-esteem of the experimental group increased significantly at the .01 level, both when compared with that of the control group. From interview, the posttest emotion and behavior of experimental group was made positive and higher than that of the pretest.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถานสงเคราะห์หญิงบ้านเกร็ดตระการen_US
dc.subjectการฝึกจิตen_US
dc.subjectสมาธิen_US
dc.subjectความนับถือตนเองen_US
dc.subjectโสเภณีen_US
dc.titleผลของการฝึกอาสนะและสมาธิตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส ต่อการเพิ่มความเห็นคุณค่าในตนเองของสตรี ในสถานสงเคราะห์หญิงบ้านเกร็ดตระการen_US
dc.title.alternativeEffects of asanas and meditation training according to neo-humanist's concept on increasing self-esteem of women in Kredtrakarn Home for Socially Handicapped Womenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKiatiwan.A@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSoree.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wirathep_pa_front.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_ch1.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_ch2.pdf10.99 MBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_ch3.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_ch4.pdf502.96 kBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_ch5.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Wirathep_pa_back.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.