Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประวีณ ณ นคร-
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ ยอดมณี-
dc.contributor.authorสละ มูลสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T23:02:04Z-
dc.date.available2016-06-08T23:02:04Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745813931-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48377-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractก่อนการใช้บังคับ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. 2523 นั้น การบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูเป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 และพระราชกฤษฎีการะเบียนข้าราชการครู พ.ศ. 2520 เหตุผลประการหนึ่งในการแยกข้าราชการครูออกจากข้าราชการพลเรือนก็ เพราะลักษณะงาน และตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูแตกต่างไปจากข้าราชการพลเรือนประเภทอื่น จึงได้มีระเบียบบริหารงานบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะวิชาชีพของราชการครูขึ้นใช้ปฏิบัติสำหรับข้าราชการครูโดยเฉพาะ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาวิเคราะห์ว่า หลักการบริหารงานบุคคลที่บัญญัติขึ้นสำหรับข้าราชการครูโดยเฉพาะ ในเรื่องการกำหนดตำแหน่ง การบังคับบัญชา และการรักษาการในตำแหน่งนั้นมีความเหมาะสมกับลักษณะงาน ตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูหรือไม่ ผลของการวิจัยพบว่า ในเรื่องกำหนดตำแหน่งข้าราชการครูนั้นบทบัญญัติที่นิยามความหมายของคำว่า “หน่วยงานทางการศึกษา” ยังมีข้อจำกัด ทำให้ ก.ค. ไม่อาจกำหนดตำแหน่งข้าราชการครูตามที่ส่วนราชการขอมาได้ นอกจากนั้นแล้วบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่ง การบังคับบัญชา และการรักษาการในตำแหน่งของข้าราชการครูยังขาดความชัดเจน ซึ่งทำให้เกิดปัญหาในการใช้บังคับ และการตีความทางกฎหมาย ผู้วิจัยจึงมีความเห็นว่าสมควรที่จะได้มีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. 2523 ในกรณีดังกล่าวเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ตำแหน่งหน้าที่และเอื้ออำนวยต่อการบริหารงานของข้าราชการครูต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeBefore the application of the Teacher Civil Service Act, B.E.2523, the personnel administration of the teaching officials followed the Civil Service Act, B.E.2518 One reason the separate the teaching officials from the civil servants is the type of work and the positions of the teaching officials are different from other civil servants, so the regulations for the personnel administration which is issued to suit profession. The purpose of this research is to analyze the suitability of the principle of the personnel administration which is prescribed the teaching officials particularly in the position classification, supervising and acting in the post temporarily of the teaching officials. The result of this research, shows that in the case of the position classification, the meaning of “the Educational Unit” is too narrow and there are certain limitations in it. This makes the Teacher Civil Service Commission enable to fix the position of the teaching officials as the government service section. Besides this the definition about the position classification, the supervising and the acting in the post temporarily of the teaching officials are not clear. This causes the problems in application and interpretation of law. The researcher opines that it is suitable to adjust and amend the definition of the Teacher Civil Service Act, B.E.2523. The revised law will be suitable for the type of work, the position and it will be useful for the administration of the teaching officials henceforth.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้าราชการครู -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectการกำหนดตำแหน่งen_US
dc.subjectการบริหารงานบุคคลen_US
dc.titleปัญหาการใช้บังคับพระราชบัญญัติข้าราชการครู พ.ศ.2523 : ศึกษาเฉพาะกรณี การกำหนดตำแหน่ง การบังคับบัญชา และการรักษาการในตำแหน่งen_US
dc.title.alternativeThe problem of the application of the teacher civil service act, B.E.2523 : a case study of position classification, Supervising and Acting in the post Temporarilyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sala_mo_front.pdf7.06 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch1.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch2.pdf5.65 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch3.pdf6.11 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch4.pdf6 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch5.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_ch6.pdf11.1 MBAdobe PDFView/Open
Sala_mo_back.pdf7.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.