Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัญญา สัญญาวิวัฒน์-
dc.contributor.authorสรายุทธ ยหะกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T23:29:20Z-
dc.date.available2016-06-08T23:29:20Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745822949-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48393-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractปัญหาในการวิจัยครั้งนี้ คือ มีปัจจัยสำคัญอะไรบ้างที่เป็นตัวกำหนดการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนาของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีสมมุติฐาน ดังนี้ 1. นักศึกษาเพศหญิง จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาเพศชาย 2. นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่สูงกว่า จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีต่ำ 3. นักศึกษาที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ต่างจังหวัด จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีภูมิลำเนาในกรุงเทพ 4. นักศึกษาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสูง 5. นักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดาประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดาประกอบอาชีพอื่นที่ไม่ใช่เกษตรกรรม 6. นักศึกษาที่บิดาหรือมารดามีระดับการศึกษาต่ำ จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดามีระดับการศึกษาสูง ข้อมูลสำหรับการทดสอบสมมุติฐานได้จากแบบสอบถามนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 400 คน ผลปรากฏว่า เป็นไปตามสมมุติฐาน 4 ข้อ คือ ข้อ 1 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 6 และไม่สามารถยืนยันตามสมมุติฐานได้ 2 ข้อ คือ ข้อ 2 และข้อ 5 ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยและผู้ที่สนใจ เห็นประโยชน์และคุณค่าของพุทธศาสนาในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำความรู้ที่ได้จากพุทธศาสนานี้ไปใช้เพื่อแก้ปัญหาสังคม การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในเชิงปฏิบัติการ เชิงวิจัย และ จุดอ่อนในการทำวิจัย พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพิ่มมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeปัญหาในการวิจัยครั้งนี้ คือ มีปัจจัยสำคัญอะไรบ้างที่เป็นตัวกำหนดการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนาของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีสมมุติฐาน ดังนี้ 1. นักศึกษาเพศหญิง จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาเพศชาย 2. นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่สูงกว่า จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีต่ำ 3. นักศึกษาที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ต่างจังหวัด จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีภูมิลำเนาในกรุงเทพ 4. นักศึกษาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสูง 5. นักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดาประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดาประกอบอาชีพอื่นที่ไม่ใช่เกษตรกรรม 6. นักศึกษาที่บิดาหรือมารดามีระดับการศึกษาต่ำ จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนามากกว่านักศึกษาที่มีบิดาหรือมารดามีระดับการศึกษาสูง ข้อมูลสำหรับการทดสอบสมมุติฐานได้จากแบบสอบถามนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 400 คน ผลปรากฏว่า เป็นไปตามสมมุติฐาน 4 ข้อ คือ ข้อ 1 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 6 และไม่สามารถยืนยันตามสมมุติฐานได้ 2 ข้อ คือ ข้อ 2 และข้อ 5 ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยและผู้ที่สนใจ เห็นประโยชน์และคุณค่าของพุทธศาสนาในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำความรู้ที่ได้จากพุทธศาสนานี้ไปใช้เพื่อแก้ปัญหาสังคม การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในเชิงปฏิบัติการ เชิงวิจัย และ จุดอ่อนในการทำวิจัย พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไปเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพิ่มมากขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพุทธศาสนากับการศึกษาen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพุทธศาสนาของนักศึกษามหาวิทยาลัย : ศึกษาเฉพาะกรณีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีen_US
dc.title.alternativeUniversity students participation in buddhist activities : a case study of pattani campus prince of Songkla Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarayudth_ya_front.pdf8.62 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch1.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch2.pdf6.07 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch3.pdf12.78 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch4.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch5.pdf13.38 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_ch6.pdf10.51 MBAdobe PDFView/Open
Sarayudth_ya_back.pdf14.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.