Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48402
Title: Sulfate aerosol and its acidity near Mae Moh Power Plant Lampang province
Other Titles: ละอองลอยซัลเฟตกับสภาพความเป็นกรดในบริเวณใกล้โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
Authors: Sarawut Thepanondh
Advisors: Wanida Jinsart
Supat Wangwongwatana
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: wanida.j@chula.ac.th
No information provided
Subjects: Aerosols
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
โรงไฟฟ้าแม่เมาะ
ซัลเฟต
Issue Date: 1996
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A study of sulfate aerosol was conducted at Ban Tha Si and Ban Sob Pat located in the vicinity of Mae Moh Power Plant, Lampang Province during January 8-23, 1996. The measurements were taken twice per day (09.00 – 17.00 and 17.00 – 09.00). Fine (DP50 < 2.5 µm) aerosols were collected using Annular Denuder System and were analyzed for SO42- , H+ and NH3. SO42- were found average about 284.35 and 589.67 neq/m3 for daytime and nighttime, respectively. H+ concentrations were higher when SO42- concentrations increase. An average daytime SO2 value was higher than those in nighttime period. Aerosol acidity was evaluated in terms of the H+/SO42- equivalent ratio. 92.7% of acid aerosol were found in the partially neutralized acid phase (NH4) 3H (SO4)2 according to the high level of ammonia gas. The occurring damge could be caused by its deposition into the environment. The SO42 formation reaction was expected to be nonphotochemical processes with metal catalysts. The heavy metals (Fe and Mn) from the airborne particulate in the site areas were feasible. The high concentration of SO42- were detected which also indicated the high potential of SO2 transformation in the vicinity of Mae Moh Power Plant.
Other Abstract: การศึกษาละอองลอยซัลเฟตที่บ้านท่าสี และบ้านสบป้าด บริเวณใกล้โรงงานไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ในระหว่างวันที่ 8 – 23 มกราคม 2539 โดยการเก็บตัวอย่างแบบต่อเนื่องแล้วแยกทำการวิเคราะห์เป็น 2 ช่วงเวลาต่อวัน (09.00 – 17.00 และ 17.00 -09.00 ) เก็บตัวอย่างละอองลอยซัลเฟตที่มีขนาดอนุภาคน้อยกว่า 2.5 ไมครอนด้วยระบบ Annular Denuder แล้วนำไปวิเคราะห์หาปริมาณของซัลเฟต ความเป็นกรด และก๊าซแอมโมเนีย รวมทั้งตรวจวัดปริมาณของเหล็กและแมงกานีสในฝุ่นแขวนลอย ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยปริมาณของซัลเฟตที่บ้านท่าสีสูงกว่าที่บ้านสบป้าด และค่าเฉลี่ยในช่วงกลางคืนมีค่าสูงกว่าช่วงกลางวัน โดยค่าเฉลี่ยในช่วงกลางวันมีค่า 284.35 neq/m3 ในขณะที่ช่วงกลางคืนมีค่า 589.67 neq/m3 ค่าความเป็นกรดแปรผันตามปริมาณของซัลเฟตที่ตรวจพบ ส่วนค่าเฉลี่ยปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในช่วงกลางวันจะสูงกว่ากลางคืน เนื่องจากอิทธิพลของสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อการแพร่กระจายของก๊าซจากแหล่งกำเนิด สภาพความเป็นกรดของละอองลอยซัลเฟต กำหนดโดยใช้อัตราส่วนของค่าความเป็นกรดต่อปริมาณซัลเฟต (H+/SO42-) พบว่าละอองลอยซัลเฟตส่วนใหญ่ (92.7%) อยู่ในรูปของเกลือแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4)3 H(SO4)2 ซึ่งเป็นรูปที่ถูกสะเทินไปแล้วบางส่วนซึ่งมีสภาพความเป็นกรดเหลืออยู่ไม่มาก ในพื้นที่มีระดับของก๊าซแอมโมเนียสูงจึงมีโอกาสที่จะเกิดการตกสะสมของเกลือแอมโมเนียมสู่สิ่งแวดล้อมได้ ปฏิกิริยาการเกิดละอองลอยซัลเฟตดังกล่าวน่าจะมีสาเหตุหลักมาจากขบวนการเคมีแบบไม่ใช้แสง จากการตรวจสอบปริมาณของเหล็กและแมงกานีสในฝุ่นแขวนลอยพบว่ามีปริมาณมากพอที่จะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้เกิดละอองลอยซัลเฟตขึ้นในบริเวณที่ไม่ไกลจากแหล่งกำเนิดอาจกล่าวได้ว่าพื้นที่นี้มีศักยภาพในการเปลี่ยนรูปของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์สูง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1996
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Environmental Science (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48402
ISBN: 9746347632
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarawut_th_front.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch1.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch2.pdf13.79 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch3.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch4.pdf8.25 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch5.pdf8.4 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_ch6.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Sarawut_th_back.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.