Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48405
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธิติมา เพ็งสุภาพ | - |
dc.contributor.author | สายรุ้ง สาทลาลัย | - |
dc.contributor.author | ภรณ์ทิพย์ สร้อยพิทักษ์ | - |
dc.contributor.author | ธนากร อินทรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-08T23:54:34Z | - |
dc.date.available | 2016-06-08T23:54:34Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.other | Sepr 3/55 ค1.6 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48405 | - |
dc.description.abstract | ยาไอโซเทรทิโนอินเป็นยาที่มีประสิทธิภาพมากในการรักษาสิว และเป็นยาที่มีผลข้างเคียงมากต่อหลาย ๆ ระบบในร่างกาย อาจเกิดอันตรายที่รุนแรงต่อหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีโอกาสตั้งครรภ์ คือ สามารถทำให้เกิดทารกวิรูปได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาลักษณะหรือรูปแบบการใช้ยาและอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากยาไอโซเทรทิโนอินชนิด รับประทานสำหรับรักษาสิวในหญิงวัยเจริญพันธุ์ โดยเก็บข้อมูลจากการใช้แบบสอบถามในผู้หญิงอายุ 15-45 ปี จำนวน 100 คน ที่เคยใช้ยาไอโซเทรทิโนอินชนิดรับประทานสำหรับรักษาสิว ในเขตกรุงเทพมหานคร ลักษณะของ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 18-27 ปี มีสถานภาพโสด เป็นนักเรียนนักศึกษาและเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง พบว่ามีเพียงร้อยละ 7 ที่ใช้ได้ตรงตามแนวทางการรักษา ซึ่งเป็นผู้ที่มีสิวระดับรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามยังมีบางรายใช้ยา ในขณะที่มีข้อห้ามใช้ (ร้อยละ 3) ทำให้เหลือผู้ที่ใช้ยาตรงตามแนวทางการรักษาเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น ส่วนร้อยละ 93 ที่ใช้ไม่ตรงตามแนวทาง เป็นผู้ที่มีสิวระดับน้อยร้อยละ 48 และผู้ที่มีสิวระดับปานกลางร้อยละ สำหรับอาการข้างเคียงที่ พบส่วนใหญ่ คือ ริมผีปากแห้ง ผิวแห้ง และพบอาการข้างเคียงอื่น ๆ ที่ไม่เคยมีรายงานไว้ในการวิจัยก่อนหน้า ได้แก่ อาการประจำเดือนมาไม่ปกติ กระวนกระวาย ไม่มีสมาธิ และคอแห้ง โดยสรุปการวิจัยในครั้งนี้พบว่า ส่วนใหญ่มีการ ใช้ยาไอโซเทรทิโนอินไม่ตรงตามแนวทางการรักษาที่แนะนำ อีกทั้งยังมีการใช้ยาในรายที่มีข้อห้ามใช้ และบางราย ไม่ได้รับยาจากแพทย์ผิวหนังโดยตรง จากผลที่กล่าวมาข้างต้นนี้ แสดงว่าการใช้ยาไอโซเทรทริโนอินในการรักษาสิวยัง มีความไม่เหมาะสม เช่น จำกัดการสั่งใช้เฉพาะแพทย์ผิวหนังในรายที่มีสิวระดับรุนแรงหรือรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้ว ไม่ได้ผลเท่านั้น และอาจมีการจัดทำใบประกอบการสั่งใช้ยาไอโซเทรทิโนอิน เป็นต้น | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การใช้ยา | en_US |
dc.subject | สิว | en_US |
dc.title | การศึกษาการใช้ยาไอโซเทรทิโนอินชนิดรับประทานสำหรับรักษาสิวและอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นในหญิงวัยเจริญพันธุ์ | en_US |
dc.title.alternative | ORAL ISOTRETINOIN USE FOR TREATMENT OF ACNE VULGARIS AND SIDE EFFECTS IN CHILD-BARING-AGE WOMEN | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sairung_Sa.pdf | 629.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.