Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48439
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลพร แสงบางปลา | - |
dc.contributor.advisor | พิชาญ พิชัยณรงค์ | - |
dc.contributor.author | วัชระ ลอยสมุทร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-09T02:51:39Z | - |
dc.date.available | 2016-06-09T02:51:39Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746335111 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48439 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | ปัญหาอากาศเป็นพิษกำลังเป็นปัญหาที่สำคัญในเมืองใหญ่ๆ โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ สาเหตุที่สำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาอากาศเป็นพิษคือควันไอเสียจากรถยนต์ซึ่งใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากในควันไอเสียจะประกอบไปด้วยแกส Co, Co2,HC, เขม่าและควันดำ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดอากาศเป็นพิษ ปัญหาอีกประการหนึ่งคือการขาดแคลนเชื้อเพลิงปิโตรเลียม ซึ่งมีแนวโน้มจะหมดไปในอนาคต แนวทางแก้ปัญหาทางหนึ่งคือ การเลือกใช้เชื้อเพลิงไฮโครเจน ในการวิจัยครั้งนี้จะทำการทดลองใช้แกสไฮโดรเจนทดแทนน้ำมันดีเซลในเครื่องยนต์ดีเซลสูบเดียวเพื่อเป็นเครื่องยนต์ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาอากาศเป็นพิษและปัญหาขาดแคลนเชื้อเพลิง โดยทำการดัดแปลงระบบต่างๆ ของเครื่องยนต์ได้แก่ ระบบเชื้อเพลิงซึ่งจะใช้ระบบฉีดแกสไฮโดรเจนลงในกระบอกสูบโดยตรงด้วยหัวฉีดแกสไฮโดครเจนที่ได้ออกแบบและจัดสร้างขึ้น ระบบจุดระเบิดจะดัดแปลงจากการจุดระเบิดด้วยกำลังอัดมาใช้หัวเทียนเป็นอุปกรณ์ช่วยจุดระเบิด กำลังอัดของเครื่องยนต์จะดัดแปลง 21:l เหลือ 11:l จังหวะฉีดแกสไฮโดรเจนแรงดันสูงฉีดที่ 50oก่อนศูนย์ตายบนและจุดระเบิดที่ศูนย์ตายบน ตามเงื่อนไขที่กล่าวมาในเบื้องต้น ผลการวิจัยที่ได้คือเครื่องยนต์ซึ่งใช้แกสไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงสามารถทำงานได้ โดยสภาพการทำงานและสมรรถนะของเครื่องยนต์ขึ้นอยู่กับแรงดันในการฉีดแกสไฮโดรเจนลงในกระบอกสูบ ซึ่งจาการทดลองฉีดแกสไฮโดรเจนด้วยแรงดันในช่วง 20-40 บาร์ ทราบว่าที่แรงดัน 35 บาร์เครื่องยนต์ไฮโดรเจนจะมีสมรรถนะดีที่สุดและเมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องยนต์ดีเซลต้นแบบที่นำมาดัดแปลง ผลที่ได้คือ เครื่องยนต์ไฮโดรเจน เครื่องยนต์ดีเซล ความเร็วรอบสูงสุด2400 2550 rpm กำลังสูงสุด 5.98 9.43 ps ประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูง 25.17 26.31 % ภาระสูงสุดที่เครื่องยนต์รับได้ 114 148 N อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นสูงสุด 85 68 °C อุณหภูมิแกสไอเสียสูงสุด 345 290 °C CO 0 0.10 % CO20 - % BLACK SMOKE 0 570 ppm | en_US |
dc.description.abstractalternative | Problems by CO, CO2, HC and black smoke gas which take out from care which used hydrocarbon fuel and problems that oil has not enough to use so long time are solved by using hydrogen fuel. In this research the experimental investigation was carried out using a single cylinder diesel engine modified to run on hydrogen. Fuel system is modified by using hydrogen injector be designed and fabricated. Ignition system is changed from compression ignition to used spark plug. Compression ratio is changed from 21:1 to 11:1. Hydrogen injection timing is used 50o BTDC and ignited at TDC. The results of this experiment have show that, the hydrogen engine could work with above condition and a performance of the engine depending on the pressure of the hydrogen gas which injected into the cylinder. In the experiment hydrogen gas pressure was injected vary from 20 to 40 bars and best performance of the engine occurred at 35 bars. The hydrogen engine which injected pressure 35 bars compared with diesel engine (Base Engine) is shown below, HYDROGEN ENGINE DIESEL ENGINE Maximum speed: 2400 2550rpm Maximumpower : 5.98 9.43 ps Maximum brake thermal efficiency: 25.17 26.31% Maximum load : 114 148 N CO : 0 0.10% by volume HC : 0 570 ppm CO2 : 0 - % by volume Black smoke : 0 53 % by volume | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เครื่องยนต์สันดาปภายใน -- ระบบเชื้อเพลิง | en_US |
dc.subject | เครื่องยนต์ไฮโดรเจน | en_US |
dc.subject | ไอโดรเจน | en_US |
dc.subject | หัวฉีดก๊าซไฮโดรเจน -- การออกแบบและการสร้าง | en_US |
dc.title | การใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนในเครื่องยนต์สันดาปภายใน | en_US |
dc.title.alternative | Use of hydrogen as alternative fuel in an internal combustion engine | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเครื่องกล | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Watchara_lo_front.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_ch1.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_ch2.pdf | 880.15 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_ch3.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_ch4.pdf | 13.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_ch5.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watchara_lo_back.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.