Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา หงษ์ไกรเลิศ-
dc.contributor.advisorวิษณุ เครืองาม-
dc.contributor.authorสมพร ถาวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T07:11:25Z-
dc.date.available2016-06-09T07:11:25Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745778982-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48496-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการเลือกตั้งเป็นกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญ ในระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตยโดยอ้อม ซึ่งไม่สามารถจัดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศได้โดยตรง แต่การเลือกตั้งนั้นจะต้องมีประสิทธิภาพพอ และเป็นที่ยอมรับได้ว่า สอดคล้องกับเงื่อนไขของระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเงื่อนไขที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งคือ ความเสมอภาค หรือการจัดให้ประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งมีความทัดเทียมกันในการใช้สิทธิของตน ในประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน กำหนดให้การเลือกตั้งเป็นแบบเบ่งเขตโดยยึดหลักเขตหนึ่ง ฯ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน เว้นแต่ในบางเขตอาจได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง 2 คน หรือ 1 คน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งที่มีภูมิลำเนาในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งไม่ทัดเทียมกัน ในขณะที่ในหลายประเทศเช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมันตะวันตก ใช้หลักการแบ่งเขตเลือกตั้งแต่ละเขตมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหนึ่งคน ซึ่งเท่ากับว่าประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสามารถใช้สิทธิออกเสียงได้คนละ 1 เสียง ไม่ว่าจะอาศัยอยู่ในเขตเลือกตั้งใดอันเป็นที่มาของหลักการที่เรียกว่า วันแมนวันโหวต หลักการแบ่งเขตเลือกตั้งดังกล่าวน่าจะนำมาใช้ในประเทศไทย โดยมีมาตรการเสริมที่เหมาะสม ซึ่งน่าจะช่วยให้ระบบการเลือกตั้งเข้มแข็งขึ้นและช่วยแก้ไขปัญหาทางการเมืองบางประการได้ ที่สำคัญคือช่วยให้การเลือกตั้งอยู่บนหลักแห่งความเสมอภาค อันย่อมสอดคล้องกับอุดมการณ์ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยen_US
dc.description.abstractalternativeElection is the fundamental process of the indirect democratic form of Government where direct public participation is not possible. However, such an election must important condition of democracy, that is to say, equality or the rule of equal suffrage. According to the present Constitution of Thailand, the multimembers constituency electoral system is adopted whereby 3 members are elected to represent each constituency. Only in some constituencies, 2 or 1 members will be elected. This means that there is no equality in voting right among the voters living in different constituencies. The cases are quite different in the United States of America, Britain and West Germany where single-member constituency or the one man, one vote rule is adopted. The single-member constituency electoral system should be applied in Thailand. It should also be adopted together with the necessary supportive measures in order to strengthen the electoral system, to solve some political problems and to make the voters equal in their voting rights which is recognized as the fundamental democratic ideology.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเลือกตั้ง -- ไทยen_US
dc.subjectกฎหมายเลือกตั้งen_US
dc.subjectการลงคะแนนเสียง -- ไทยen_US
dc.subjectเขตเลือกตั้ง -- ไทยen_US
dc.titleการนำระบบวิธีการเลือกตั้งหนึ่งคนหนึ่งเสียง มาใช้ในกฎหมายเลือกตั้งของไทยen_US
dc.title.alternativeSingle-member constituency in electoral law of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somphorn_th_front.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch0.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch1.pdf4.54 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch2.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch3.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch4.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_ch5.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Somphorn_th_back.pdf7.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.