Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภณ ขันติอาคม-
dc.contributor.authorรัฐ ดำรงศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T07:49:49Z-
dc.date.available2016-06-09T07:49:49Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746328077-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48523-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการตรวจสอบในเรื่องการเปิดเสรีทางการเงินของไทย ภายใต้กรอบของทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค ซึ่งแนวคิดนี้ได้กล่าวว่าหากการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศเป็นไปอย่างสมบูรณ์จริงจัง อัตราดอกเบี้ยของทั้งภายในกับภายนอกประเทศควรที่จะมีแนวโน้มเข้าหากันหรืออย่างน้อยที่สุดก็ควรจะเคลื่อนไหวตามกันอย่างเป็นระบบมากกว่าในอดีต จากผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบระหว่างช่วงก่อนและหลังเปิดเสรีทางการเงินพบว่าสมมติฐานของอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคถูกปฏิเสธในกรณีศึกษาประเทศไทย และส่วนต่างๆ ของอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคก็ไม่ได้มีแนวโน้มที่จะลดลงอย่างชัดเจน ซึ่งแสดงถึงระดับของการกีดกันทุนที่ยังคงมีอยู่ อีกทั้งเมื่อเราทดสอบสมมติฐานการจรสุ่มในส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคก็ยังพบว่าตลาดเงินระหว่างประเทศของไทยยังคงไม่มีประสิทธิภาพในความหมายกว้างอีกด้วย ดังนั้นเราจึงพอที่จะสรุปได้ว่า “การเปิดเสรีทางการเงินของไทยยังเป็นไปอย่างไม่สมบูรณ์” การที่ส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคไม่ได้มีแนวโน้มที่ลดลงเช่นนี้ น่าจะเป็นด้วยเหตุผลอย่างน้อย 6 ประการ ได้แก่ มาตราการการควบคุมทุนของรัฐ นโยบายในการควบคุมตลาดการเงินภายในประเทศบางอย่างของรัฐ พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุน ความแตกต่างในขนาดของตลาดเงินและสภาวะทางเศรษฐกิจ การแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์ของตลาดเงินภายในประเทศ และความไม่เป็นจริงในเงื่อนไขเสมอภาคของฟิชเชอร์en_US
dc.description.abstractalternativeThis study is carried out to examine financial liberalization in Thailand under the framework of interest rate parity theory. Theoretically, it was widely expected that perfect financial integration would lead to convergence of interest rate across countries, or at least to greater synchronization of interest rate movements than in the past. Empirically, it was found that interest parity was not held and the deviation of interest rate parity was not reduced over time. This reflects the fact that capital barrier still exists. Moreover, the result of testing random walk hypothesis on deviation from interest rate parity elaborated a inefficient international money market. Accordingly, it can be concluded that Thailand financial liberalization was not perfect. There are at least six reasons why international interest rate failed to converge, which are capital controls, some domestic monetary policy, portfolio behavior of investors, difference in money market size and economic condition, a lack of competitiveness in Thai financial system and rejection of Fisher parity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectดอกเบี้ยen_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.titleอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคกับการเปิดเสรีทางการเงินของไทยen_US
dc.title.alternativeInterest rate parity and financial liberalization in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rath_da_front.pdf593.79 kBAdobe PDFView/Open
Rath_da_ch1.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Rath_da_ch2.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Rath_da_ch3.pdf636.25 kBAdobe PDFView/Open
Rath_da_ch4.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open
Rath_da_ch5.pdf443.21 kBAdobe PDFView/Open
Rath_da_back.pdf591.7 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.