Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ปูรณโชติ-
dc.contributor.authorวรรณี ประเสริฐสรรค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T04:15:05Z-
dc.date.available2016-06-10T04:15:05Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745696978-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48665-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีพื้นความรู้เดิมทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ที่ได้รับการตรวจแบบฝึกหัดโดยนักเรียนตรวจของตนเอง นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน และครูตรวจตามปกติ และศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นความรู้เดิมกับผู้ตรวจแบบฝึกหัด กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรุงเทพมหานคร ที่มีพื้นความรู้เดิมสูง ปานกลาง และต่ำ จำนวน 51, 58 และ 46 คน ตามลำดับ ซึ่งถูกสุ่มเข้ารับการทดลองแบบถ่วงดุล เมื่อสิ้นสุดการทดลองครบ 7 สัปดาห์ ทำการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ด้วยแบบสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่มีพื้นความรู้เดิมทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แตกต่างกัน กล่าวคือ นักเรียนที่มีความรู้เดิมสูงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่มีพื้นความรู้ปานกลางและต่ำ และนักเรียนที่มีพื้นความรู้เดิมปานกลางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่มีพื้นความรู้เดิมต่ำ 2. นักเรียนที่ได้รับการตรวจแบบฝึกหัดโดยนักเรียนตรวจของตนเอง นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน และครูตรวจตามปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน 3. ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นความรู้เดิมทางคณิตศาสตร์กับผู้ตรวจแบบฝึกหัด ที่จะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to compare the mathematics learning achievement among Mathayom Suksa Three students with high, moderate and low mathematics background and their exercises were corrected by different exercise correctors (themselves, classmates and the teacher); and to study the interaction between background and exercise correctors variables. The samples consisted of 51 high, 58 moderate and 46 low background students of Wat Suthiwararam School which were randomly assigned to experimental treatment using the counterbalancing design. After the seven weeks of experiment, students’achievement was measured by the tests constructed by the researcher and data were analysed by two-way ANOVA and Scheffe’ method for poshoc comparison. The results were as follows: 1. Students with high, moderate and low mathematics background had different mathematics achievement: the high background students had higher achievement than the moderate and low background students; the moderate background student had higher achievement than the low background students. 2. Students with different exercise correctors did not have different mathematics achievement. 3. There was no interaction effects between mathematics background and exercise correctors on achievement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการบ้านen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectแบบฝึกหัด -- การตรวจen_US
dc.titleการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นความรู้เดิมทางคณิตศาสตร์กับประเภท ของผู้ตรวจแบบฝึกหัดต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3en_US
dc.title.alternativeA study of the interaction between mathematics background and types of exercise correctors to mathematics learning achievement of mathayom suksa three studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wannee_pr_front.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_ch1.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_ch2.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_ch3.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_ch4.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_ch5.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_pr_back.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.