Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณพิมล กุลบุญ-
dc.contributor.advisorเรืองศรี จุลละจินดา-
dc.contributor.authorวัลภา ปลีหะจินดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T04:48:37Z-
dc.date.available2016-06-10T04:48:37Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746321072-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48696-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการหยุดบอกรับวารสารวิชาการภาษาต่างประเทศในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยของรัฐ ในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ 2532-2536) ในด้านสาเหตุ จำนวน สาขาวิชา ราคา ตลอดจนวิธีการและเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคัดเลือกวารสารที่จะหยุดบอกรับ เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาแก่ผู้ใช้ภายหลังการหยุดบอกรับวารสาร ผลการวิจัยพบว่าระหว่างปีงบประมาณ 2532-2536 หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 22 แห่ง หยุดบอกรับวารสารวิชาการภาษาต่างประเทศจำนวน 516 ชื่อ เป็นเงินทั้งสิ้น 3,279,777.81 บาท โดยมีสาเหตุจากวารสารมีราคาสูงขึ้น วิธีการที่ห้องสมุดส่วนใหญ่ใช้ในการคัดเลือกวารสารที่จะหยุดบอกรับ คือ การศึกษาการใช้วารสาร ผู้มีอำนาจในการตัดสินวารสารที่จะหยุดบอกรับ คือ บรรณารักษ์ และเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินหยุดบอกรับวารสารเฉพาะชื่อมากที่สุด คือ หยุดบอกรับตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้/ผู้บริหาร สาขาวิชาของวารสารที่หยุดบอกรับจำนวนมากที่สุดคือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 112 ชื่อ (ร้อยละ 21.71) รองลงมา คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีจำนวน 101 ชื่อ (ร้อยละ 19.57) ภายหลังการหยุดบอกรับวารสาร ห้องสมุดจำนวน 13 แห่ง ไม่มีปัญหาเกิดขึ้นกับผู้ใช้ส่วนห้องสมุดอีก 9 แห่งที่มีปัญหาเกิดขึ้นกับผู้ใช้ ได้ใช้แนวทางทั่วไปและแนวทางความร่วมมือระหว่างห้องสมุด ในการแก้ปัญหาให้กับผู้ใช้en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the cancellation of subscription to particular foreign language journals in the state university central libraries between the fiscal year of 1989-1993. This research will focus on cause, subject areas covered, price, selected analysis and methodologies employed and criteria used in deciding when to cancel journals, readers and follow up after cancellation. The result of this study show that, between the fiscal years of 1989-1993, twenty-two state university central libraries cancelled 516 journals amounting to 3,279,777.81 baht. The reasons why the majority of cancelled subscriptions were the rising prices. Most libraries selected journals to be cancelled by researching readers' needs and tastes. Librarians used the readers' suggestions as the criteria for the majority of cancellation of journal subscriptions. In the subject field of cancelled journals, 21.71 per cent or 112 were scientific and 19.57 per cent or 101 were technological journals. After journal cancellation, the readers of 13 libraries had no complaints. Another 9 libraries solved their readers' problems through library cooperation and providing general assistance in regard to readers' queries.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวารสารen_US
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาen_US
dc.titleการหยุดบอกรับวารสารวิชาการภาษาต่างประเทศ ในหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยของรัฐen_US
dc.title.alternativeCancellation of subscriptions to foreign language journals in state university central librariesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPanpimon.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorruangsri.j@car.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wallapa_pl_front.pdf607.03 kBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_ch1.pdf596.31 kBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_ch2.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_ch3.pdf452.04 kBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_ch4.pdf11.83 MBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_ch5.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Wallapa_pl_back.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.