Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48727
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิรักษ์ สุจริตตานนท์ | - |
dc.contributor.author | สมชาย เจียมธีรสกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-10T06:51:15Z | - |
dc.date.available | 2016-06-10T06:51:15Z | - |
dc.date.issued | 2530 | - |
dc.identifier.isbn | 9745684147 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48727 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนแปลงขยะสดเป็นก๊าซมีเทน โดยวิธีการย่อยสลายแบบไร้อากาศสองขั้นตอน ก๊าชชีวภาพที่ได้ สามารถนำกลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือพลังงานทดแทนและจะเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับการการย่อยขยะแบบไร้อากาศขั้นตอนเดียว ที่ได้มีผู้ทำไว้แล้ว ผลจากการศึกษาโดยใช้ระยะเวลาในการหมักต่างๆ กันคือ 3.49, 5.17, 11.39 และ 15.91 วัน ที่อัตราการป้อนสารอาหารระหว่าง 0.18 ถึง 0.80 กก ของแข็งระเหยที่ใส่ต่อม³ - วัน ปรากฏว่าได้ปริมาณก๊าซ ต่อน้ำหนักของแข็งระเหยที่ใส่เข้าไปอยู่ระหว่าง 0.052 ถึง 0.228 ลิตรต่อกรัม และมีองค์ประกอบของก๊าซมีเทนอยู่ประมาณ 58.98 ถึง 66.91 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ระยะเวลาในการหมัก 8.47 วัน จะให้ปริมาณก๊าซ ต่อน้ำหนักของแข็งระเหยที่ใส่เข้าไปสูงที่สุด คือ 0.300 ลิตรมีเทน ต่อกรัมของแข็งระเหยที่ใส่เข้าไป และมีองค์ประกอบของมีเทนสูงด้วย พบว่าประสิทธิภาพส่วนร่วมของกระบวนการหมักไร้อากาศสองขั้นตอน สูงกว่าการหมักแบบไร้อากาศขั้นตอนเดียว โดยสามารถกำจัดซีโอดีทั้งหมดอยู่ระหว่าง 59.63 ถึง 94.38 เปอร์เซ็นต์ และการกำจัดของแข็งทั้งหมด 88.67 ถึง 97.79 เปอร์เซนต์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this is to investigate the possibility of conversion of garbage to methane gas by a two-stage anaerobic digestion. Biogas product can be used as an energy source. The efficient o the process is compared to the single-stage anaerobic digestion of garbage which was studies. The results of the study at various hydraulic retention time of 3.49, 5.17, 11.39 and 15.91 days and the substrate concentration between 0.18 to 0.80 kg VS added/m³- day indicated that the total value of gas yield expressed in litter of gas per gram of volatile solids added were between 0.052 to 0.228 and the composition of methane gas were between 58.98 to 66.91%. For hydraulic retention time of 8.47 days, the gas yield was optimum at 0.300 lCH4/gmVS added and also the composition of methane gas was also high. It was found that the efficiency of the two-stage anaerobic digestion was higher than the single-stage anaerobic digestion process. The percentage of total COD removal were between 56.98 to 94.38% and the total solid removal were between 86.67 to 97.79%. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | มีเทน | en_US |
dc.subject | ก๊าซชีวภาพ -- ไทย | en_US |
dc.subject | แบคทีเรีย | en_US |
dc.title | การผลิตก๊าซมีเทนจากขยะโดยกระบวนการชีวภาพ แบบไร้อากาศสองขั้นตอน | en_US |
dc.title.alternative | Production of methane gas from solid wastes by a two-stage anaerobic process | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somchai_je_front.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch1.pdf | 336.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch2.pdf | 190.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch3.pdf | 6.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch4.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch5.pdf | 5.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch6.pdf | 305.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_ch7.pdf | 306.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somchai_je_back.pdf | 4.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.