Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48844
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วินิจ ขำวิวรรธน์ | - |
dc.contributor.advisor | ส่งศรี กุลปรีชา | - |
dc.contributor.advisor | นลิน นิลอุบล | - |
dc.contributor.author | สนธวรรณ สุภัทรประทีป | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-10T09:00:29Z | - |
dc.date.available | 2016-06-10T09:00:29Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745835307 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48844 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en_US |
dc.description.abstract | อาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมสำหรับผลิตกรดมะนาวโดยเชื้อ Aspergillus niger A185 หนึ่งลิตรประกอบด้วย แป้งมันสำปะหลังที่ย่อยด้วยเอนไซม์โดยมีค่าสมมูลเดกซ์โทรส (DE) ไม่ต่ำกว่า 94 เปอร์เซนต์ ปริมาณ 200 กรัมน้ำหนักแห้ง (total solid) แอมโมเนียมซัลเฟต 2.5 กรัม โพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.4 กรัม ไดโพแทสเซียมไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.4 กรัม แมกนีเซียมซัลเฟต 0.3 กรัม ทองแดงไอออน (ในรูปคอปเพอร์ซัลเฟต) 0.5x10-3 กรัม และเมทิลแอลกอฮอล์ 3 เปอร์เซ็นต์ (ปริมาตรโดยปริมาตร) ปรับค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้นเท่ากับ 6.5 การใช้สูตรอาหารดังกล่าวผลิตกรดมะนาวในระดับขวดเขย่าที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความเร็วรอบการเขย่า 250 รอบต่อนาที ใช้หัวเชื้ออายุ 48 ชั่วโมง จะได้ผลผลิตกรดมะนาวสูงสุด 127.8 กรัมต่อลิตร ในชั่วโมงที่ 240 ของการหมัก เมื่อนำสูตรอาหารดังกล่าวไปใช้ในการผลิตกรดมะนาวในระดับถังหมักขนาด 5 ลิตร หมักที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส อัตราการให้อากาศ 1.0 ลิตรอากาศต่อลิตรอาหารต่อนาที อัตราการกวน 500 รอบต่อนาที หมักในสภาวะที่ไม่ควบคุมค่าความเป็นกรด่าง พบว่า เชื้อจะผลิตกรดมะนาวได้ 115.3 กรัมต่อลิตรในชั่วโมงที่ 204 ของการหมัก ประสิทธิภาพของการผลิตในถังหมัก สามารถเพิ่มได้โดยการเติมสารแหล่งคาร์บอนและสารแหล่งไนโตรเจนในปริมาณและช่วงเวลาการหมักที่เหมาะสม (fed-batch culture) จากผลการทดลองนี้ พบว่า เชื้อราสามารถผลิตกรดมะนาวได้สูงสุด 147.9 กรัมต่อลิตร ในเวลา 192 ชั่วโมงของการหมัก เมื่อเลี้ยงในถังหมักพร้อมกับการเติมสารแหล่งคาร์บอนและสารแหล่งไนโตรเจน โดยเชื้อผลิตกรดมะนาวได้สูงกว่าในระดับขวดเขย่า 17.8 เปอร์เซนต์ และสูงกว่าการหมัก โดยไม่มีการเติมสารแหล่งคาร์บอนและสารแหล่งไนโตรเจน 28.3 เปอร์เซนต์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Production of citric acid by Aspergillus niger A185 was carried out by cultivation in a suitable medium consisting of 200 g (solid content) of hydrolyzed starch with dextrose equivalent of not less than 94%; ammonium sulfate, 2.5 g; potassium dihydrogen phosphate, 0.4 g; dipotassium hydrogen phosphate, 0.4 g; magnesium sulfate, 0.3 g; copper ion (as copper sulfate), 0.5 mg; and methyl alcohol, 3% (v/v) in one litre of medium with initial pH of 6.5. Optimal conditions for shake flask culture was carried out by using 48 hours inoculums culture, at 30 ℃ and rotary shaking at 250 r.p.m. By shake flask cultivation, citric acid production of 125.6 g/l was obtained within 240 hours. The production of citric acid by 5-L fermenter was investigated using the same medium compositions as above with an initial culture volume of 3.5 litre, at 30℃, agitation speed at 500 r.p.m., and aeration rate at 1.0 v.v.m. with no pH controlled. In batch culture, 115.3 g/l of citric acid was obtained after 204 hours of cultivation while the maximum yield of 147.9 g/l was produced in fed-batch culture after 192 hours of cultivation, in which C and N sources were added at suitable time. Under fed-batch fermentation, citric acid productions were increased to 17.8% and 28.3%, higher than that by shake flask and by batch culture, respectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกรดมะนาวในถังหมักขนาด 5 ลิตรโดยเชื้อ Aspergillus niger A185 | en_US |
dc.title.alternative | Optimal conditions for the production of citric acid in A 5-l Fermenter by Aspergillus niger A185 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีทางอาหาร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | Songsri.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Naline.N@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sonthawan_su_front.pdf | 2.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sonthawan_su_ch1.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sonthawan_su_ch2.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sonthawan_su_ch3.pdf | 8.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sonthawan_su_ch4.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sonthawan_su_back.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.