Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48872
Title: ความขัดแย้งในรัฐบาล ชวน หลีกภัย
Other Titles: Conflicts in Chuan Leekpai's government
Authors: ศิวบูรณ์ เชาว์ศิลป์
Advisors: วิทยา สุจริตธนารักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: ชวน หลีกภัย, 2481-
ความขัดแย้งทางการเมือง
รัฐบาล -- ไทย
พรรคการเมือง -- ไทย
ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2535
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาเรื่องความขัดแย้งในรัฐบาล ชวน หลีกภัย เป็นการศึกษาวิจัยแบบเอกสาร มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมา สถานการณ์และเงื่อนไขที่นำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลผสม ชวน หลีกภัย โดยผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตไว้เฉพาะในช่วงครึ่งสมัยแรก (ชวน 1 – 3) ของอายุรัฐบาล จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า สาเหตุสำคัญของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในพรรครัฐบาลผสม ชวน หลีกภัย นั้นมาจากความแตกต่างกันในการจัดสรรผลประโยชน์ทางการเมืองของแต่ละพรรค โดยเฉพาะผลประโยชน์ด้านฐานคะแนนเสียงหรือความนิยมทางการเมือง เนื่องจาก 3 พรรคการเมืองใหญ่ร่วมรัฐบาลมีพื้นที่ฐานคะแนนเสียงที่ทับซ้อนกัน ต่างพรรคต่างแสวงหาโอกาสจากสถานการณ์ทางการเมือง โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ของรัฐบาล ตลอดจนความต้องการเข้าควบคุมองค์กรของรัฐในด้านการจัดการเลือกตั้งเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว และความแตกต่างทางด้านแนวความคิดทางการเมือง ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำมาซึ่งความขัดแย้งในรัฐบาลผสมชุดนี้ อันส่งผลกระทบถึงความราบรื่นในการบริหารงานและเสถียรภาพของรัฐบาล ชวน หลีกภัย มาโดยตลอด
Other Abstract: This is a documentary research intended to trace the development, circumstantial evidences, and conditions leading to conflicts among coalition partners of Chuan Leekpai's government during the first phase of the coalition life. The study shows that main causes of conflicts in Chuan Leekpai's government stem from differences in the management of interests of each coalition partner, particularly those interests dealing with voting bases or political popularity. Since three main coalition partners maintain overlapping voting bases, each vies for political gains should circumstance presents itself or from benefits involving large construction projects, as well as the desire to control state organs overseeing general elections. On top of that, differences in political ideology is another factor leading to conflict barring smooth administration of the government.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48872
ISBN: 9746333267
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siwaboon_ch_front.pdf555.22 kBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_ch1.pdf642.47 kBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_ch2.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_ch3.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_ch4.pdf8.05 MBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_ch5.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Siwaboon_ch_back.pdf655.09 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.