Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49001
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤทธิสาณ ชุมพล, ม.ร.ว-
dc.contributor.authorสฤษดิ์ วิฑูรย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-12T00:26:32Z-
dc.date.available2016-06-12T00:26:32Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745691631-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49001-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การผลักดันข้อเรียกร้องของกลุ่มผลประโยชน์ของผู้ประกอบอาชีพหนังสือพิมพ์ต่อกระบวนการนิติบัญญัติภายใต้ระบบการเมืองแบบ “ประชาธิปไตยแบบราชการ” ของไทย โดยมุ่งพิจารณาเฉพาะกรณีร่างพระราชบัญญัติการพิมพ์ในช่วงปี พ.ศ. 2528-2530 ซึ่งปรากฏว่า กลุ่มผลประโยชน์ดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จในการผลักคันให้มีกฎหมายการพิมพ์ที่เสรีนิยมมากขึ้น การวิจัยมุ่งวิเคราะห์โครงสร้างของกลุ่มผลประโยชน์ดังกล่าว ช่องทางที่ใช้ในการเข้าถึงผู้ตัดสินใจในกระบวนการนิติบัญญัติ และวิธีการอื่น ๆ ในการผลักดัน อีกทั้งพิจารณาในส่วนของกลุ่มผลประโยชน์เอง และอุปสรรคที่มาจากองค์กรนิติบัญญัติและลักษณะของระบอบการเมือง การวิจัยพบว่า ระบอบการเมืองแบบ “ประชาธิปไตยแบบราชการ” เปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์ผู้ประกอบอาชีพหนังสือพิมพ์เสนอข้อเรียกร้องเพื่อให้ได้มาซึ่งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของตนในขั้นตอนของการริเริ่มกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงขั้นตอนต่าง ๆ ของการพิจารณาร่างกฎหมายซึ่งเปิดโอกาสให้แต่เฉพาะผู้ที่มีอาชีพหนังสือพิมพ์ที่รัฐสภาคัดเลือก ได้เข้าร่วมในกระบวนการตัดสินใจ นอกจากนั้นกติกาของระบอบดังกล่าว (รัฐธรรมนูญ) เปิดโอกาสในระดับหนึ่งให้ข้าราชการ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของวุฒิสภา สกัดกั้นความต้องการของกลุ่มผลประโยชน์ที่ข้าวราชการพิจารณาเห็นว่า อาจนำความยากลำบากมาสู่การปฏิบัติหน้าที่ของตน อย่างไรก็ดีสิ่งที่เป็นเงื่อนไขสำคัญมิให้การเรียกร้องประสบผลสำเร็จคือ ความอ่อนแอบของกลุ่มผลประโยชน์ผู้ประกอบอาชีพหนังสือพิมพ์เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การไม่สามารถระดมความสนับสนุนจากสมาชิกของกลุ่มและบุคคลที่สาม ตลอดจนการไม่ใช้ทรัพยากรทางการเมืองของตนอย่างเต็มที่en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to describe and analyze the ways in which journalist interest groups exert demands on the legislative process in Thailand’s “Bureaucratic Democratic Regime”. It took as a case study the process of initiating and scrutinizing the Publication Bill (which appertains mainly to the press) during 1985-1987. In this, the journalist groups failed to obtain a satisfactory response to their demands for a more liberal piece of legislation. The study analyzed the structures of the interest gourps, their access channels to legislators and related pressure activities. It dealt with the groups’ own problems and the obstacles put in their way by the legislative bodies and the political regime. The study found that the “Bureaucratic Democratic Regime” was open to journalist pressure groups’ demands in the process of policy initiation, but it did not allow them to become directly involved in the process of legislative scrutiny. Furthermore, constitutional provisions making for an appointed Senate made it possible for bureaucrats who dominated the body to put obstacles in the way of interest group demands which they deemed to hinder the performance of their administrative functions. Nonetheless, the main constraints on the journalist interest groups lay in their own weaknesses, especially their disunity, their inability to mobilize support from members and third parties, and the inadequate use of their own political resources.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectสมาคมหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectสมาคมนักหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectกลุ่มอิทธิพลen_US
dc.subjectนักหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectร่างพระราชบัญญัติการพิมพ์en_US
dc.subjectคำสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 42en_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- ไทยen_US
dc.subjectสื่อมวลชนกับการเมืองen_US
dc.subjectgovernmenten_US
dc.subjectpoliticsen_US
dc.subjectlegislationen_US
dc.titleการผลักดันทางการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ในยุค "ประชาธิปไตยแบบราชการ" : ศึกษากรณีร่างพระราชบัญญัติการพิมพ์en_US
dc.title.alternativeInterest group pressure in Thailand's "Bureaucratic Democratic Regime": a case study of the publication billen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarit_wi_front.pdf7.46 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_ch1.pdf12.04 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_ch2.pdf4.47 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_ch3.pdf11.58 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_ch4.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_ch5.pdf6.63 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_wi_back.pdf7.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.