Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ สินลารัตน์-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ตันติแพทยางกูร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-12T02:30:12Z-
dc.date.available2016-06-12T02:30:12Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745691941-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49031-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการของหลักสูตรการสอนสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของแนวคิดตะวันตกที่มีต่อหลักสูตรการสอนเศรษฐศาสตร์ 3) เพื่อวิเคราะห์ผลของแนวคิดตะวันตกต่อหลักสูตรการสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ในระดับอุดมศึกษา ผลการวิจัย พบว่า พัฒนาการของหลักสูตรการสอนสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทย มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2454 ที่มีการพิมพ์เผยแพร่หนังสือทรัพยศาสตร์ และจากกลุ่มคนที่มีโอกาสไปศึกษาต่อในยุโรปและอเมริกา พ.ศ. 2477 วิชาเศรษฐศาสตร์ได้จัดสอนในหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรก และมีการพัฒนาการเรียนการสอนเศรษฐศาสตร์มากขึ้นในช่วง พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2509 โดยส่งอาจารย์ไปศึกษาต่อในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก และมีการปรับปรุงหลักสูตร โดยจำลองแบบจากประเทศตะวันตกตามที่ได้รับประสบการณ์เรียนรู้มา อิทธิพลของแนวคิดตะวันตกที่มีต่อหลักสูตรการสอนเศรษฐศาสตร์ จะปรากฏในโครงสร้างหลักสูตร นับตั้งแต่การกำหนดวัตถุประสงค์ การจัดรายวิชาเรียน เนื้อหาสาระของวิชาตลอดจนหลักการทฤษฎีที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน ที่ลอกเลียนแบบตะวันตกมาใช้ในการเรียนการสอบ นอกจากนี้ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศในลักษณะการให้ทุนวิจัย และการให้ทุนอาจารย์ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา การใช้ตำราจากต่างประเทศประกบการเรียนการสอน สิ่งเหล่านี้ย่อมมีอิทธิพลต่อหลักสูตร และการสอนเศรษฐศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทยด้วย ดังนั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงทำให้หลักสูตรและการสอนเศรษฐศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทยไม่มีพื้นฐานหรือแนวความคิด และข้อความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ไทยอย่างแท้จริง ข้อความรู้ของหลักสูตรและการสอนที่มีอยู่ในสถาบัน จึงไม่สามารถนำไปอธิบายปรากฎการณ์ทางเศรษฐศาสตร์ของสังคมไทยได้ หรือไม่สามารถนำไปเสนอแนะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThis research focuses on Western influence on teaching Economics in thai higher education in 3 main issues as follows.- 1) The development on the instruction of Economics in Thai Higher Education 2) Western influences on economies instruction 3) The analysis on Western concepts on the curriculum and instruction of economics. The findings of this research is that the study of Economics in Thailand was first introduced by a group of people who went to study in Europe and the United States of America in 1911, the year in which the book entitled Subphasarn was printed. In 1934 Thammasat University added Economics into their curriculum and encouraged a good number of academic staff to further their studies in the United States. To strengthen the program, the Western Curriculum model was brought into consideration and the course was revised with bias towards the Western concept. The influence of Western thinking on thai education has appeared in the structure of the curriculum, objectives of teaching, subjects, content of subjects and theory of teaching. Furthermore, foreign assistance in various aspects and textbooks have played a major role on thai instruction. These factors have an important influence on the teaching of Economics in Thailand. Therefore, the Economics taught in Thailand is not influenced by the Thai way of thinking and thus cannot be adopted into the economics of Thai society. So, the economics thought taught here cannot be effectively used to analyze and solve Thai economics problems.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectcurriculumen_US
dc.subjectteachingen_US
dc.subjecteducational institutionsen_US
dc.subjecteducational systemsen_US
dc.titleอิทธิพลตะวันตกต่อหลักสูตรและการสอนเศรษฐศาสตร์ ในสถาบันอุดมศึกษาไทยen_US
dc.title.alternativeWestern Influence on Curriculum and Instruction of Economics in Thai Higher Education Institutionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPaitoon.Si@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_tp_front.pdf5.58 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch1.pdf7.9 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch2.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch3.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch4.pdf4.91 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch5.pdf16.42 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_ch6.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_tp_back.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.