Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินิจ ขำวิวรรธน์-
dc.contributor.advisorนลิน นิลอุบล-
dc.contributor.advisorส่งศรี กุลปรีชา-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ นาคซื่อตรง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-12T09:38:22Z-
dc.date.available2016-06-12T09:38:22Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745845523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49042-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกรดมะนาวของ Candida oleophila สายพันธุ์ C-73 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ผลิตกรดนะนาวได้ 99.71 กรัมต่อลิตร ในสูตรอาหาร PM3 การกลายพันธุ์ทำโดยใช้ NTG อย่างต่อเนื่อง 2 ขั้นตอน แล้วตามด้วยการฉายแสงอุลตราไวโอเลตในขั้นตอนสุดท้าย การคัดเลือกสายพัมธุ์กลายพันธ์กลายพันธุ์ขั้นปฐมภูมิใช้ค่า โพเทนซี อินเดกซ์ (potency index) ซึ่งเป็นวิธีที่พัฒนาขึ้น เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือก ส่วนการคัดเลือกขั้นทุติยภูมิ ทำโดยวิเคราะห์ปริมาณกรดมะนาวในน้ำหมัก โดยวิธีเพนตะโบรโมอะซิโตน และวิธี HPLC พบว่าค่า โพเทนซี อินเดกซ์ มีความสัมพันธ์กับปริมาณกรดมะนาว ผลการกลายพันธุ์ สามารถคัดเลือกสายพันธุ์ที่ผลิตกรดมะนาวได้สูงสุดในแต่ละขั้นตอน คือ สายพันธุ์ N-57, NN- 1 และ NNU-62 ซึ่งผลิตกรดมะนาวได้ 120.54, 128.44 และ 136.66 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ ที่ 96 ชั่วโมงของการหมักโดยพบว่าสูงว่าที่ผลิตโดยสายพันธุ์ C-73 ร้อยละ 20.89, 28.81 และ 37.06 ตามลำดับ จากการทดสอบประสิทธิภาพการผลิตกรดมะนาวในถังหมักขนาด 5 ลิตร ของสายพันธุ์ NNU-62 พบว่า สามารถผลิตกรดมะนาวได้สูงถึง 173.36 กรัมต่อลิตร ที่ 96 ชั่วโมงของการหมัก ความสามารถของสายพันธุ์ NNU-62 อยู่ในระดับคงที่หลังจากทดสอบการผลิตอย่างต่อเนื่อง 5 ครั้ง ในระยะเวลา 75 วันen_US
dc.description.abstractalternativeStrain improvement of Candida oleophila C-73, a strain capable to produce 99.71 gram of citric acid per litre in PM3 medium, was performed by mutating with NTG for two consecutive steps and then with UV for the last step. Potency index, a technique developed in this study, was used for primary screening for the mutants. Secondary screening was done by determination of citric acid concentration on fermentation broth by pentabromoacetone and HPLC methods. With these techniques, the correlation between potency index and citric acid production was observed. Strain N-57, NN-1 and NNU-62 were mutants selected from each step of the treatment showing highest ability to produce citric acid of 120.54, 128.44 and 136.66 gram per litre, respectively after 96 hours of cultivation which were 20.89%, 28.81% and 37.06% higher than that produced by strain C-73. Cultivation of NNU-62 in 5-L fermentor gave maximum citric acid yield of 173.36 gram per litre after 96 hours of cultivation. Stability of citric acid producing ability of NNU-62 was still observed after 5 consecutive fermentations within 75 days.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดมะนาวen_US
dc.subjectยีสต์en_US
dc.titleการปรับปรุงสายพันธุ์ Candida Oleophila C-73 เพื่อผลิตกรดมะนาวen_US
dc.title.alternativeStrain improvement of Candida oleophila C-73 for citric acid productionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_na_front.pdf7 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_na_ch1.pdf10.18 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_na_ch2.pdf5.33 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_na_ch3.pdf3.92 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_na_ch4.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_na_back.pdf6.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.