Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49088
Title: | การบริการข่าวสารบนเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จำกัด |
Other Titles: | The In-Flight information service on Thai airways international co.,Ltd |
Authors: | สันทัด จีระธรรมสุนทร |
Advisors: | ศิริชัย ศิริกายะ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Sirichai.S@chula.ac.th |
Subjects: | ข่าวสาร บริษัท การบินไทย จำกัด |
Issue Date: | 2534 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงลักษณะของการบริการข่าวสารบิน เครื่องของบริษัทการบินไทย จำกัด ด้วยวิธีการวิจัยถึงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูล จากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตโดยการเข้าไปมีส่วนร่วม ผลการวิจัยโดยใช้แนวคิดทางไซเบอร์เนติกพบว่า ราคาค่าโดยสารเป็นตัวกำหนดความมากน้อย และคุณภาพของการบริการข่าวสารบนเครื่องบิน และยังครอบคลุมไปถึงสิทธิ, ทรัพยากรและความต้องการของผู้โดยสารอีกด้วย ดังนั้นผู้ควบคุมระบบจึงมีหน้าที่ปรับการไหลเวียนของข่าวสารเท่าที่จะทำได้ เมื่อมีปฏิกิริยาตอบสนองในทางลบเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อทำให้เกิดความสมดุลขึ้นในระบบการบริการทั้งหมด นั้นคือ การสนองความต้องการของผู้โดยสารในด้านข่าวสาร ซึ่งเท่ากับเป็นการควบคุมผู้โดยสารให้อยู่ในความสงบได้ในระดับหนึ่งระหว่างการเดินทาง จากผลการวิจัยดังกล่าวผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะในระดับองค์กรและโครงสร้างของชุดพนักงานฯ ในแต่ละเที่ยวบินให้เหมาะสมกับงานบริการข่าวสารบนเครื่องบิน ซึ่งจะมีการแข่งขันอย่างมากมายในอนาคตอันใกล้ |
Other Abstract: | The purpose of the study is to examine the procedure of the in-flight information service. The qualitative method is employed, the data collection is based on the focused interview technique and the participant observation. The result of finding based on cybernetic concept, indicated that the air fare ticket limited the amount and quality of the in-flight information services. Also determine the passenger’s right, need and information flow when a negative feedback has occurred. This is just to make the equilibrium stage. This means that the passengers’ satisfaction has been achieved to a certain extent, and the passenger control is accomplished. The implication of this study indicated that, there should be some improvement at the administrative level and restructure the composition of the cabin attendants in each flight due to the severe competition on the in-flight information service in the near future. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 |
Degree Name: | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การประชาสัมพันธ์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49088 |
ISBN: | 9745789399 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Santad_je_front.pdf | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch1.pdf | 8.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch2.pdf | 3.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch3.pdf | 11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch4.pdf | 4.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch5.pdf | 4.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_ch6.pdf | 6.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santad_je_back.pdf | 3.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.