Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49118
Title: ศึกษาการบดอัดโดยวิธีทุบด้วยลูกตุ้มหนักของเขื่อนทับเสลา จังหวัดอุทัยธานี
Other Titles: A compaction study by heavy tamping method at Tubsalao Dam, Uthai Thani Province
Authors: สันต์ ศรีเอนก
Advisors: สุรพล จิวาลักษณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: เขื่อนทับเสลา
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยทับเสลา
ดิน -- การปรับปรุงคุณภาพ
เขื่อน -- ฐานราก
ฐานราก -- การออกแบบและการสร้าง
การบดอัด
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การปรับปรุงคุณสมบัติของดินฐานรากโดยวิธีทุบด้วยลูกตุ้มหนักให้มีความแน่นเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะได้รับน้ำหนักของเขื่อนและลดอันตรายจากการ เกิดปรากฎการณ์สภาพเหลวเนื่องจากแผ่นดินไหวของเขื่อนทับเสลา ซึ่งมีพื้นที่ทำการปรับปรุงทั้งหมด 100,000 ตารางเมตร ปริมาตรทรายที่ทำการปรับปรุงประมาณ 600,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความหนาแน่นสัมพัทธ์ที่ต้องการหลังการบดอัดเท่ากับ 70% วิธีการทุบดินให้มีสภาพแน่นสูงขึ้น โดยใช้เครนยกลูกตุ้มหนัก 15-30 ตัน พื้นที่หน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส 9 ตารางเมตร ยกสูง 22 เมตร ปล่อยให้ตกอิสระกระทบพื้นดิน เพื่อปรับปรุงสภาพความแน่นให้สูงขึ้น ผลที่ได้สามารถทำให้ชั้นทรายหลวมที่มีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์เฉลี่ยสัมพัทธ์เฉลี่ยก่อนการบดอัด 52% มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ขึ้นเป็น 85% ค่าความลึกอิทธิพลเฉลี่ยเท่ากับ 11.73 เมตร, ค่าสัมประสิทธิ์แก้ไขเฉลี่ยเท่ากับ 0.456, อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาตรทรายมีค่าเท่ากับ 16.5% องค์ประกอบที่สำคัญในการบดอัดได้แก่ เกณฑ์ความแน่นที่ต้องการหลังการบดอัด, ระดับน้ำใต้ดิน, ความหนาของชั้นทรายและขนาดคละของอนุภาค อย่างไรก็ตามหลังงานที่ใช้บดอัดชั้นทรายหลวมโดยวิธีทุบด้วยลูกตุ้มหนักของ เขื่อนทับเสลา มีค่าตั้งแต่ 105-500 ตัน.เมตร ต่อตารางเมตร
Other Abstract: Method in densified soil improvement by using heavy tamping method in order to improve bearing capacity dam foundation and to reducing the possible hazard from liquefaction of looses and due to earthquakes at Tubsalao Dam. The total improvement area were 100,000 square mater with approximate volume 600,000 cubic meter. The required relative density after compacted equal to 70 percentage. Compactioning method was used crane equipment, lift weight 15 to 30 tons with the square shape of the compact weight area 9 square meters. The construction compaction method was done by mean of lifting require weight to 22 meter and let free fall nit the groud surface. The results were indicated coat compaction method could improved loose sand stratum with the initial relative density 52 percent increased to be 35 percent after compacted. The influence depth was in the average 11.76 meter with 0.456 coefficient of correction for the volume change ratio 16.5 percent. The compaction depend on the following main factors such as the require density after compacted, water table appearance, the tnickness of sand layer and grain size distribution. The amount of total energy the used to compacted looses and stratum by heavy tamping method at Tubsalao Dam would be 150 ton-meter per square meter.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมโยธา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49118
ISBN: 9745762504
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunt_sr_front.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_ch1.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_ch2.pdf3.56 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_ch3.pdf11.77 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_ch4.pdf7.2 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_ch5.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open
Sunt_sr_back.pdf9.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.