Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49130
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไววิทย์ พุทธารี | - |
dc.contributor.author | สันติ บุญฟ้าประทาน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-12T23:53:36Z | - |
dc.date.available | 2016-06-12T23:53:36Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745623733 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49130 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en_US |
dc.description.abstract | ในการศึกษาสภาวะของธาตุเหล็กในรูปที่นำไปใช้ได้ (active iron, Fe2+) รูปที่นำไปใช้ไม่ได้ (inactive iron, Fe3+) และปริมาณธาตุเหล็กทั้งหมด (total iron content) โดยใช้สารเคมี 1-10 0-phenanthroline เป็นตัวสกัดต่อพืช 2 ชนิด ได้แก่ ผักกาดเขียวกวางตุ้ง (Brassica chinensis. Jusl. Var. parachinensis Tsen & Lee) และข้าว (Oryza sativa Linn.) ที่ปลูกในสารละลาย ธาตุอาหารที่มี Zn2+, Cd2+ และ Ni2+ ในรูปสารประกอบโลหะหัก -EDTA ที่ระดับความเข้มข้นระหว่าง น, 10 – 40 ppm. พบว่าธาตุโลหะหนักทั้งสามทำให้เกิดสภาวะปกติรวมทั้งปริมาณ total iron และปริมาณคลอโรฟิลล์ก็ลดลงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ การลดลงนี้ชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อระยะเวลาการทดลองนานขึ้นจาก 9 วัน เป็น 15 วัน ยกเว้นในข้าวที่ระดับความเข้มข้นของแคตเมียม 30 และ 40 ppm. พบว่าอาการซีดเหลืองที่เกิดขึ้นตามการลดลงของปริมาณคลอโรฟิลล์นั้นไม่ได้เกิดจากการขาดแคลนธาตุเหล็กดังที่กล่าวมาข้างต้น แต่กลับทำให้ปริมาณธาตุเหล็กทั้งหมดเพิ่มมากกว่าสภาวะปกติ นอกจากนี้โลหะหนักทั้งสามยังทำให้น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งของต้นและรากของพืชทั้งสองชนิดลดลงอย่างมีนัยสำคัญ และแสดงอาการผิดปกติต่าง ๆ ตั้งแต่มีระดับความเข้มข้นน้อย (10 – 20 ppm.) อาการผิดปกติดังกล่าว ได้แก่ อาการซีดเหลืองของเนื้อเยื่อระหว่างเส้นใบจนถึงเกิดอาการตายของเนื้อเยื่อ (necrosis) โดยเฉพาะในผักกาดเขียวกวางตุ้งที่ระดับความเข้มข้นสูงของธาตุสังกะสี (40 ppm.) อาการที่ปรากฏนี้สัมพันธ์กับการลดลงของปริมาณคลอโรฟิลล์ สังกะสีและแคตเมียมทุกความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นยังทำให้รากหยุดเจริญและเน่า แต่ไม่พบผลการยับยั้งการเจริญของรากในข้าวสำหรับธาตุนิเกิล | en_US |
dc.description.abstractalternative | This investigation reports on the use of 1-10 0-phenanthroline as an extractant for determining leaf iron status in the forms of active (Fe2+), inactive (Fe3+) and total iron in two plant species, namely edible rape (Brassica chinensis. Jusl. Var. parachinensis Tsen & Lee) and rice (Oryza sativa Linn.) which were grown in nutrient solution containing the metal-EDTA chelate of Zn2+, Cd2+ and Ni2+ concertrations ranging from zero to 40 ppm. It was found that an excess supply of each-metallic iron decreased leaf Fe2+/Fe3+ ratio. The toxic effect resulted in a significant reduction of both leaf total iron and chlorophyll content. The effect on both plant species was more pronounced as the time of treatment was increased from 9 to 15 days with the exception of the rice plants treated with Cd2+ at 30 and 40 pp.- level In the latter case, although the plants were chlorotic as chlorophyll content decreased, their leaf total iron contents were definitely higher than those of the normal plants. The fresh and dry weights of both shoots and roots of the two plant species were significantly decreased with increasing concentration of each of the heavy motals. This was correlated with the metallic concentration as low as 10 or 20 ppm, and in the case of edible rape treated with zinx at 40 ppm. Or higher, chlorosis was always followed by nercrosis. These visible symptoms were correlated with decreasing chlorophyll content. Further-more, Zicn and cadmium caused stunted root growth followed by root decay of both plants. These toxic effects on the root of rice plants were however not observed in the case of nickel. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พืช -- ผลกระทบจากโลหะหนัก | en_US |
dc.subject | แคดเมียม | en_US |
dc.subject | นิกเกิล | en_US |
dc.subject | สังกะสี | en_US |
dc.title | ผลของแคตไอออนของแคดเมียม นิเกิล และสังกะสี ต่อปรากฏการณ์การขาดเหล็กในพืชบางชนิด | en_US |
dc.title.alternative | The effect of cd2+, Ni 2+ and Zn2+ on the incidence of ion iron deficiency in certain plants | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พฤกษศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Santi_bo_front.pdf | 9.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_ch1.pdf | 14.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_ch2.pdf | 8.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_ch3.pdf | 5.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_ch4.pdf | 14.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_ch5.pdf | 2.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_bo_back.pdf | 3.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.