Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49585
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารีย์วรรณ อ่วมตานี | - |
dc.contributor.author | บุญสม ควรชม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2016-09-05T07:09:14Z | - |
dc.date.available | 2016-09-05T07:09:14Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49585 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับ ตติยภูมิที่มีจำนวนเตียงตั้งแต่ 500 เตียงขึ้นไป เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 709 คน ซึ่งได้ จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพยาบาล ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิและหาความ เที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์องค์ประกอบด้วยวิธีการสกัดองค์ประกอบหลัก หมุนแกนองค์ประกอบแบบ ออโธโกนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปดังนี้ องค์ประกอบการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิที่มีจำนวนเตียง ตั้งแต่ 500เตียงขึ้นไป เขตกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 4 องค์ประกอบบรรยายด้วย 26 ตัวแปร มีค่าความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 60.72 1.ด้านการเข้าถึงแหล่งความรู้และการนำไปใช้ประโยชน์ เป็นองค์ประกอบที่อธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุด คือ ร้อยละ 24.25 ประกอบด้วย 11 ตัวแปร 2.ด้านการประเมินและพัฒนาตนเองให้พร้อมในการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบที่อธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุด คือ ร้อยละ 16.24 ประกอบด้วย 6 ตัวแปร 3.ด้านการมีทักษะการสื่อสารและแก้ปัญหา เป็นองค์ประกอบที่ อธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุด คือ ร้อยละ12.88 ประกอบด้วย 5 ตัวแปร 4.ด้านการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบที่ อธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุด คือ ร้อยละ 7.35 ประกอบด้วย 4 ตัวแปร | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study the components of lifelong learning of professional nurses working in tertiary hospital,Bangkok. Study sample selected by using multi –stage sampling were 709 professional nurses.The research instrument was the professional nurses’lifelong learning questionnaire which was examined for content vadility and tested for reliability.The Cronbach’s Alpha Coefficient of professional nurses’lifelong learning questionnaire was .94. The data were analyzed by using Principal Componants Axis Analysis and Orthogonal Rotation with Varimax method. The findings were as follow: The lifelong learning of professional nurses in tertiary hospital consists of 4 components 1. Learning resource access and application described by 11 items accounted for 24.25 2. Self evaluation and development for preparing lifelong learning described by 6 items accounted for 16.24 3. Communicating and problem solving skills described by 5 items accounted for 12.88 4. Goal setting described by 3 items accounted for 7.35. They accounted for 60.72 % of the variance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1519 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การศึกษาต่อเนื่อง | en_US |
dc.subject | พยาบาล | en_US |
dc.subject | Continuing education | en_US |
dc.subject | Nurses | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์องค์ประกอบการเรียนรู้ตลอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ | en_US |
dc.title.alternative | The factor analysis of professional nurses' lifelong learning | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Areewan.O@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1519 | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
boonsom_ku.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.