Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49645
Title: การจัดลำดับการผลิตรถยนต์แบบหลายวัตถุประสงค์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบสองด้าน
Other Titles: Multi-objective car sequencing problem on mixed-model two-sided assembly lines
Authors: สถาพร โอฬารวิวัฒน์ชัย
Advisors: ปารเมศ ชุติมา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: cparames@chula.ac.th
Subjects: รถยนต์ -- การผลิต
อุตสาหกรรมรถยนต์
สายการผลิต
การจัดสมดุลสายการผลิต
Automobiles
Automobile industry and trade
Assembly-line methods
Assembly-line balancing
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การจัดลำดับการผลิตรถยนต์บนสายการประกอบแบบสองด้านมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับใช้ในการแก้ปัญหาสายการประกอบที่มีหลายผลิตภัณฑ์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งปัญหาชนิดนี้มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน เนื่องจากเป็นปัญหาแบบ Non-deterministic Polynomial Hard: NP-Hard โดยปัญหาการจัดลำดับการผลิตรถยนต์แบบผลิตภัณฑ์ผสมบนสายการประกอบแบบสองด้านนี้ ได้พิจารณาฟังก์ชันวัตถุประสงค์ 3 ฟังก์ชันในงานวิจัยคือ ปริมาณงานที่ทำไม่เสร็จน้อยที่สุด จำนวนรถยนต์ที่ละเมิดรวมน้อยที่สุด และจำนวนครั้งการเปลี่ยนแปลงสีน้อยที่สุด และนำเสนออัลกอริทึมการบรรจวบแบบขยาย (Combinatorial Optimization with Coincidence Expand: COIN-E) ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ประยุกต์มาจาก COIN มาใช้ในการแก้ปัญหา โดยทำการเปรียบเทียบกับอัลกอริทึมที่ยอมรับในการแก้ปัญหาการจัดลำดับการผลิต ได้แก่ NSGA-II, DPSO, BBO และ COIN ผลจากการเปรียบเทียบพบว่า COIN-E มีประสิทธิภาพด้านการลู่เข้าสู่กลุ่มคำตอบ ด้านการกระจายกลุ่มคำตอบและด้านอัตราส่วนของจำนวนกลุ่มคำตอบที่ค้นพบเทียบกับกลุ่มคำตอบที่แท้จริงเท่ากับ 91.28, 51.41 และ 52.13 ตามลำดับ ซึ่งจากตัวชี้วัดสมรรถนะของทั้ง 3 ชนิดจะพบว่า COIN-E มีประสิทธิภาพในการใช้การแก้ปัญหาได้ดีกว่า NSGAII, DPSO, BBO และ COIN
Other Abstract: Car Sequencing on two-sided assembly line is an important problem in an automotive industry. Researchers and practitioners have attempted several approaches to solve this problem aiming at maximum production efficiency. The problem is considered as an “NP-Hard problem”. In this paper, three objective functions are considered including (1) minimize utility work, (2) minimize the number of violation and (3) minimize the number of color changes. The expansion of Combinatorial Optimization with Coincidence (COIN-E) algorithm is developed from its original version (i.e. COIN). Several well-known algorithms are compared in solving this problem including Non-dominated Sorting Genetic Algorithms (NSGA-II), Discrete Particle Swarm Optimization (DPSO), Biogeography-based Optimization (BBO) and (COIN). The experimental results indicate that COIN-E is efficient and it obtains the values of convergence = 91.28%, spread = 51.41% and ratio = 52.13%, which are significantly better than NSGA-II, DPSO, BBO and COIN.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49645
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1542
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1542
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sathaporn_ol.pdf5.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.