Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49674
Title: | เทคนิคการเพิ่มส่วนการตรวจหาความผิดพลาดของการถอดรหัสคิวอาร์โค้ดโดยใช้ไมโครคิวอาร์โค้ด |
Other Titles: | A technique to add error detection of QR Code decoding by using micro QR Code |
Authors: | ธานี วิพุทธิกุล |
Advisors: | สาธิต วงศ์ประทีป |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Sartid.V@Chula.ac.th |
Subjects: | คิวอาร์โคด QR codes |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้นำเสนอกระบวนการในการการตรวจสอบข้อผิดพลาดของข้อมูลใน QR Code โดยใช้ Micro QR Code ภาพ QR code ที่ใช้ในการทดลองจะเป็นภาพ QR Code ที่เป็นภาพระดับเทา Gray Scale. กระบวนการที่นำเสนอนี้จะนำไปใช้ก่อนการถอดรหัสภาพ QR Code ซึ่งกระบวนการประมวลผลภาพได้ถูกนำมาใช้ในการปรับปรุงภาพที่มีความเสียหาย อาทิเช่น การบิด การเปื้อน หรือการฉีกขาด เป็นต้น ใน QR Code ปกติทั่วไปจะไม่มีระบบการตรวจสอบว่าข้อมูลที่ได้จากการถอดรหัสเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง โดยที่ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน Micro QR Code เป็นข้อมูลที่ได้จากการเข้ารหัส MD5 ( Message-Digest Algorithm 5) จากนั้นนำ Micro QR Code ที่ได้ไปซ้อนทับในส่วนของ Finder Pattern ของภาพ QR Code ทั่วไป ทั้งสามส่วน ในการทดลองนี้จะใช้ภาพ QR Code ในเวอร์ชั่น 5 และเวอร์ชั่นที่สูงกว่า กระบวนการในการถอดรหัสจะสนใจบริเวณของ Finder Pattern ทั้ง 3 จุดซึ่งมี Micro QR Code ซ้อนทับอยู่ จากนั้นใช้เทคนิค Binarization โดยการกำหนดค่า Threshold เพื่อให้ได้ Micro QR code จาก ROI แล้วทำการใช้เทคนิค Opening เพื่อลดขอบภาพที่ไม่ต้องการพร้อมทั้งกำจัดสัญญาณรบกวน Noise จากนั้นทำการตรวจสอบข้อมูลได้จากการถอดรหัส |
Other Abstract: | This research introduced method for error detection of the information in QR Code by using Micro QR Code, by creating a grayscale QR Code. Image processing technique is used before decoding. Image processing offer ability of fixing error and restore module that have been damaged such as tear, stain or bend before decoding process. General QR Code does not have error detection to verify the correctness of information in QR Code. Therefore, the contents of Micro QR Code is generated using MD5 (Message-Digest Algorithm 5) and superimposed onto the three corners of Finder Pattern of standard QR Code. The experiment is conducted on QR Code version 5 and over. The decoding is done by focusing on the region of interest on the overlapped Micro QR Code. After that the binarization is done using multilevel-thresholding to separate the content of the Micro QR Code. The Opening technique is used to remove edges, eliminate noises and verify the decoding data. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49674 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1551 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.1551 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
tanee_wi.pdf | 5.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.