Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา รู้กิจการพานิช-
dc.contributor.authorองค์การ ศิริสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-11-15T08:44:19Z-
dc.date.available2016-11-15T08:44:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49763-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดของเสียอันเนื่องมาจากการผลิตเทฟลอน และหาสภาวะที่เหมาะสมของแต่ละปัจจัยโดยการออกแบบการทดลอง โดยทำการทดลองกับผลิตภัณฑ์ 2 รุ่น ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเป็นปริมาณมากและเกิดของเสียในปริมาณมากด้วยคือ PV103(F4PN) และ PV102(G201) งานวิจัยนี้เริ่มจากการใช้แผนภาพแสดงเหตุและผล และการระดมสมอง ซึ่งทำให้ได้ปัจจัยเบื้องต้น 5 ปัจจัยคือ คือ อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 1 อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 2 อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 3 อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 4 และความเร็วผลิตภัณฑ์ โดยแผนการทดลองที่ใช้เป็นแบบแฟคทอเรียลดีไซน์ (2k) ระดับของปัจจัย 2 ระดับ ซึ่งจากผลการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยหลักการทางสถิติพบว่ามี 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเกิดของเสียในการผลิตเทฟลอนคือ อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 1 อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 2 อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 3 และอุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 4 จากการพิจารณาค่าที่เหมาะสมของระดับปัจจัยเพื่อการใช้งาน พบว่า อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 1 คือ 350 °C อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 2 คือ 370 °C อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 3 คือ 400 °C อุณหภูมิฮีทเตอร์โซน 4 คือ 280 °C และความเร็วของผลิตภัณฑ์คือ 80 cm/hr จากการทดลองเพื่อการยืนยันผลการทดลองของเทฟลอนทั้งสองรุ่น โดยเปรียบเทียบสัดส่วนของการเกิดของเสียในการผลิตเทฟลอนที่ได้จากการใช้ระดับปัจจัยที่ได้จากการทดลองมาใช้ในการผลิตจริง โดยใช้ข้อมูลการผลิตเทฟลอนทั้งสองรุ่นเป็นเวลา 3 เดือนพบว่าค่าสัดส่วนของเสียจากการผลิตเทฟลอนรุ่น G201 คือ 0.086 และ รุ่น F4PN คือ 0.1788 เปรียบเทียบกับ ค่าสัดส่วนของเสียก่อนการปรับปรุงของผลิตภัณฑ์รุ่น G201 คือ 0.1301 และ รุ่น F4PN คือ 0.2373 ซึ่งพบว่าระดับปัจจัยที่นำเสนอขึ้นมาใหม่สามารถลดของเสียของผลิตภัณฑ์รุ่น G201 ได้ 33.9% เป็นเงินประมาณ 500,000 บาทและผลิตภัณฑ์รุ่น F4PN คือ 24.65% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 600,000 บาทen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study the factors that influence the defect of Teflon production and find the appropriate condition by DOE technique with 2 types of product which are PV102(G201) and PV103(F4PN). The research is initiated by considering of various factors effecting on defect of Teflon production by using cause and effect diagram and brainstorming that found 5 factors were probably significant in defection of Teflon production which are (1) temperature zone 1, (2) temperature zone 2, (3) temperature zone 3, (4) temperature zone 4 and (5) speed of product. The experimental using Factorial Design in 2 levels of each factor, the results showed that 4 factors were significantly in defection of Teflon production which are (1) temperature zone 1, (2) temperature zone 2, (3) temperature zone 3 and (4) temperature zone 4. The appropriate condition for minimize the defection of Teflon production are (1) temperature zone 1 is 350 °C, (2) temperature zone 2 is 370 °C, (3) temperature zone 3 is 400 °C, (4) temperature zone 4 is 280 °C and (5) speed of product is 80 cm/hr. After applying new condition with 2 types of products for 3 months and also compare with the old condition found that the percentage of defect has reduced about 33.9% for PV102(G201) and 24.65% for PV103(F4PN). It can see that PV102(G201) is reduced to 0.086 from 0.1301 and PV103(F4PN) is reduced to 0.1788 from 0.2373. The defective value has reduced about 500,000 baht for PV102(G201) and 600,000 baht for PV103(F4PN)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1413-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิเทฟen_US
dc.subjectPolytefen_US
dc.titleการศึกษาวิธีการผลิตเทฟลอนที่เหมาะสมโดยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองen_US
dc.title.alternativeStudy on appropriate method of teflon production by design of experiment techniqueen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfieckp@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1413-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ongkarn_si_front.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch1.pdf801.98 kBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch2.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch3.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch4.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch5.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch6.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_ch7.pdf492.3 kBAdobe PDFView/Open
ongkarn_si_back.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.