Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศราวุฒิ อารีย์en_US
dc.contributor.authorปาริชาติ โชคเกิดen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:38:31Z-
dc.date.available2016-11-30T05:38:31Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49879-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินนโยบายทางการเมืองและเศรษฐกิจของระบอบการปกครองในอียิปต์นับตั้งแต่การปฏิวัติในปี 1952 และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่นำไปสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ อันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอียิปต์ กรอบแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษานี้ประกอบไปด้วยแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ และทฤษฎีระดมทรัพยากร จากการศึกษาพบว่าการเคลื่อนไหวทางสังคมในรูปแบบใหม่ภายใต้ขบวนการคีฟายาและขบวนการเยาวชน 6 เมษายนนั้น มีการเคลื่อนไหวที่มีการยกระดับจิตสำนึกเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยที่การเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ผ่านขบวนการเหล่านี้มีอุดมการณ์ที่ต้องการเสรีภาพ ความเท่าเทียม ความยุติธรรม การปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตย และสภาพความเป็นอยู่ของชีวิตที่ดีขึ้น การเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นในอียิปต์มีการกระทำแบบรวมหมู่ กล่าวคือมีการเคลื่อนไหวที่มีลักษณะเป็นเครือข่ายองค์กร มีเป้าหมายในการเคลื่อนไหวที่ชัดเจน มีความต้องการที่จะแก้ปัญหาในสังคม อีกทั้งยังต้องการให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมโดยใช้การเคลื่อนไหวดังกล่าวเป็นกลไกสำคัญในการต่อรอง นอกจากนี้ขบวนการเคลื่อนไหวในอียิปต์ยังมี ลักษณะการระดมทรัพยากรที่ต้องอาศัยคน เวลา เงิน รวมทั้งนวัตกรรมในการสื่อสารแบบใหม่ เช่น Facebook, Twitter, YouTube และ Weblogs เป็นต้น การเคลื่อนไหวดังกล่าวเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล มีการรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนชัดเจน ก่อให้เกิดศักยภาพในการเคลื่อนไหวที่สัมฤทธิ์ผลได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study the political-economy of successive Egyptian regimes since the coup of 1952 and analysis the factors that lead to the creation of new social movements for changes. The conceptual framework of this thesis consists of New Social Movements and Resource Mobilization. The study found that the consciousness of the Egyptian people is being raised by the new social movements under the Kefaya Movement and the April 6 Youth Movement leading to the call for change in the society through the ideology that comprise of freedom, equality, justice, democracy and the well-being. The new social movement that occurred in Egypt was shaped in the form of collective action that moved forward by having organizational network and clear purpose of network formation in order to solve the problems in society and change the society through the available key mechanism of the movement. The movement in Egypt drove their aim by resource mobilization that consists of human, time, money and new media innovation such as Facebook, Twitter, YouTube and Weblogs. This movement was pursued in a logical way and could strongly connect each other, resulted in the creation of the effective movement for change.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1509-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอียิปต์ -- การเมืองและการปกครอง-
dc.subjectขบวนการสังคม-
dc.subjectขบวนการยุคใหม่-
dc.subjectEgypt -- Politics and government-
dc.subjectSocial movements-
dc.subjectNew age movement-
dc.titleการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในโลกอาหรับ: ศึกษากรณีอียิปต์en_US
dc.title.alternativePeople’s revolution in Arab world : a case study of Egypten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSrawut.A@Chula.ac.th,tfarida@hotmail.com,tfarida@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1509-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5485340129.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.