Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์en_US
dc.contributor.authorปาลิตา คงธนคณากุลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:38:52Z
dc.date.available2016-11-30T05:38:52Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49895
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractในสภาวะที่ความต้องการในการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน รวมไปถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ทำให้ภาครัฐบาลมีการสนับสนุนให้มีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพื่อใช้ภายในประเทศ และหนึ่งในพลังงานทดแทนที่สำคัญคือ พลังงานแสงอาทิตย์ ทำให้มีการสนับสนุนให้มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคาในภาคครัวเรือนมากขึ้น และเนื่องจากการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคาที่เพิ่มขึ้นนี้เอง อาจส่งผลให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อระบบจำหน่าย กล่าวคือ ระดับแรงดันไฟฟ้าในบางช่วงของสายและในบางช่วงเวลามีค่าสูงกว่าระดับที่ยอมรับได้ และทำให้ค่าแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลมีค่าเพิ่มมากขึ้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะส่งผลเสียต่ออุปกรณ์อื่นๆ ในระบบไฟฟ้าสามเฟสได้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เริ่มต้นจากการพัฒนาแบบจำลองที่ศึกษาผลกระทบของการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคาเพื่อศึกษาผลกระทบต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าด้านแรงดันไฟฟ้าและนำเสนอแนวทางในการลดผลกระทบของการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคา 2 วิธี คือ การติดตั้งหม้อแปลงจำหน่ายเพิ่มเติม และการจัดเฟสของโหลดใหม่ เพื่อให้การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคามีการจัดการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปถึงส่งผลกระทบด้านลบหรือความสูญเสียต่อระบบไฟฟ้าน้อยที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeDue to the increase of electrical energy demand and economic growth in Thailand, government has been acted accordingly by encouraging the installation of renewable energy. Among many options of renewable energy, solar energy is most popular. Therefore, rooftop PV installation has been highly encouraged and supported. Anyway, the rise of rooftop PV installation has several undesirable effects on distribution systems such as violation of voltage limit and unbalanced voltage, which are capable of sabotaging many devices in the system. This thesis starts from the modeling of rooftop PV for studying the impacts on system voltages. Also, this thesis proposes two approaches for minimizing the impacts of rooftop PV on the system. These are the installation of utilization transformers and the phase balancing of loads. The proposed approaches allow rooftop PV to be effectively manageable, and help reduce undesirable impacts on the distribution systems.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1392-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง
dc.subjectSolar cells
dc.subjectSolar energy
dc.subjectElectric power systems
dc.titleการประเมินผลกระทบของระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทบนหลังคาต่อแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลในระบบจำหน่ายไฟฟ้าแรงดันต่ำen_US
dc.title.alternativeImpact assessment of rooftop PV on unbalanced voltage in low voltage distribution systemsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurachai.C@Chula.ac.th,surachai.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1392-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570288821.pdf10.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.