Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49946
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nattama Pongpairoj | en_US |
dc.contributor.advisor | Raksangob Wijitsopon | en_US |
dc.contributor.author | Thanaphan Thapthimhin | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Arts | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:39:53Z | |
dc.date.available | 2016-11-30T05:39:53Z | |
dc.date.issued | 2015 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49946 | |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015 | en_US |
dc.description.abstract | The study investigated the representations of L1 Thai learners on English number agreement, a form which is non-existent in Thai. It is hypothesized that the L2 learners have target-like syntactic representations of English number agreement according to the non-impairment view of the Missing Surface Inflectional Hypothesis (MSIH), and against the impairment view of the Failed Functional Feature Hypothesis (FFFH). The participants were 58 intermediate and 45 advanced Thai undergraduates. The study was conducted via two tests, a Cloze Test and a Grammatical Judgment Task. Both tests featured singular/plural head nouns with modification and irregular nouns. The results showed that the L2 learners’ accuracy on English number agreement was above 80% on the structures of singular/plural head with modification. However, deviant production was found on irregular nouns. The results indicated the learners’ target-like syntactic representations of English number agreement but incomplete knowledge of lexicon. The L2 learners can access Universal Grammar on the grammatical area not found in their L1. The participants were assumed to be less exposed to the irregular nouns featured in the study so those nouns in their lexicon were not tagged with target-like syntactic information. Since the results indicated that the L2 learners do not have syntactic impairment of English number agreement and incomplete knowledge of lexicon can explain the deviant production of the irregular nouns, FFFH is contradicted and MSIH is confirmed. | en_US |
dc.description.abstractalternative | งานวิจัยนี้สำรวจรูปแทนวากยสัมพันธ์ของผู้เรียนชาวไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแรกในกรณีความคล้อยตามทางพจน์ในภาษาอังกฤษซึ่งโครงสร้างดังกล่าวไม่ปรากฏในภาษาไทย สมมุติฐานของงานวิจัยนี้คือผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองนั้นมีรูปแทนวากยสัมพันธ์ที่เหมือนเป้าหมายตามแนวความคิดเกี่ยวกับความสมบูรณ์ (non-impairment view) ของสมมุติฐานการผันคำระดับพื้นผิวที่หายไป (Missing Surface Inflection Hypothesis) และตรงกันข้ามกับแนวความคิดเกี่ยวกับความไม่สมบูรณ์ (impairment view) ของสมมุติฐานลักษณะแสดงหน้าที่ที่ล้มเหลว (Failed Functional Feature Hypothesis) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เรียนชาวไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ระดับปริญญาตรี แบ่งออกเป็นผู้เรียนที่มีสมิทธิภาพกลาง (intermediate learners) จำนวน 58 คน และผู้เรียนที่มีสมิทธิภาพสูง (advanced learners) จำนวน 45 คน งานวิจัยชิ้นนี้ใช้แบบทดสอบจำนวนสองชุด ได้แก่ แบบทดสอบโคลซ (Cloze Test) และ แบบทดสอบการตัดสินทางไวยากรณ์ (Grammatical Judgment Task) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าความถูกต้องของผู้เรียนในเรื่องของความคล้อยตามทางพจน์ในภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองดังกล่าวมีมากกว่า 80% ในโครงสร้างส่วนหลักเป็นเอกพจน์/พหูพจน์ที่มีส่วนขยาย อย่างไรก็ตาม การใช้ที่ไม่ถูกต้องพบมากกว่ากับคำนามไม่ปกติ (irregular nouns) ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าผู้เรียนชาวไทยดังกล่าวมีรูปแทนวากยสัมพันธ์ในความคล้อยตามทางพจน์ในภาษาอังกฤษที่เหมือนเป้าหมาย แต่มีความรู้ด้านคลังศัพท์ไม่สมบูรณ์ ผู้เรียนชาวไทยดังกล่าวสามารถเข้าถึงไวยากรณ์สากลในด้านไวยากรณ์ที่ไม่พบในภาษาที่หนึ่งของตน ผู้เรียนชาวไทยดังกล่าวไม่ได้รับรู้ลักษณ์ของคำนามไม่ปกติในงานวิจัยชิ้นนี้อย่างเพียงพอจึงทำให้ผู้เรียนชาวไทยดังกล่าวไม่มีคำนามที่มีข้อมูลทางวากยสัมพันธ์ที่เหมือนเป้าหมายในคลังคำ เนื่องจากผลการวิจัยบ่งชี้ว่าผู้เรียนชาวไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองดังกล่าวมีความสมบูรณ์ในความคล้อยตามทางพจน์ในภาษาอังกฤษ แต่มีความรู้ด้านคลังศัพท์ไม่สมบูรณ์ซึ่งส่งผลต่อการใช้ที่ไม่ถูกต้องของคำนามไม่ปกติ งานวิจัยครั้งนี้จึงหักล้างสมมุติฐานลักษณะแสดงหน้าที่ที่ล้มเหลว และยืนยันสมมุติฐานการผันคำระดับพื้นผิวที่หายไป | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.79 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Thai language -- Syntax | |
dc.subject | English language -- Syntax | |
dc.subject | English language -- Usage | |
dc.subject | ภาษาไทย -- วากยสัมพันธ์ | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- วากยสัมพันธ์ | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา | |
dc.title | Target-like syntactic representations of L1 Thai learners : a case of L2 English number agreement | en_US |
dc.title.alternative | ตัวแทนทางวากยสัมพันธ์ที่เหมือนเป้าหมายของผู้เรียนชาวไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแรก: กรณีความคล้อยตามทางพจน์ในภาษาอังกฤษที่เป็นภาษาที่สอง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Arts | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | English | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Nattama.P@Chula.ac.th,Nattama.P@Chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | Raksangob.W@Chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.79 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5580137322.pdf | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.