Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49977
Title: การศึกษาเชิงตัวเลขของการระบายควันในอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT
Other Titles: A numerical study of smoke ventilation in underground MRT tunnel
Authors: กิตตินันท์ บุญเปี่ยม
Advisors: สมพงษ์ พุทธิวิสุทธิศักดิ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Sompong.Pu@Chula.ac.th,sompong.pu@chula.ac.th
Subjects: การระบายอากาศ
ควัน
รถไฟใต้ดิน -- การทำความร้อนและการระบายความร้อน
Ventilation
Smoke
Subways -- Heating and ventilation
Issue Date: 2558
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการจำลองแบบเชิงตัวเลขโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Fire Dynamics Simulator (FDS) เวอร์ชั่น 6.0 เพื่อวิเคราะห์การระบายควันของการเกิดเพลิงไหม้ที่ตำแหน่งต่างๆ ของรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คือ หัวขบวนรถไฟ กลางขบวนรถไฟ และท้ายขบวนรถไฟ โดยทำนายการกระจายตัวของอุณหภูมิ ค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนมอนอออกไซด์ (CO) และการเคลื่อนตัวของควันในอุโมงค์ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างสถานี M2 และ M1 การจำลองสถานการณ์เมื่อรถไฟเคลื่อนตัวออกจากสถานี M2 มาถึงจุดกึ่งกลางของอุโมงค์แล้วมีเพลิงไหม้เกิดขึ้นในกรณีที่เลวร้ายที่สุดโดยรถไฟจะหยุดทันที จากการศึกษาพบว่าระบบการระบายควันแบบที่ 2 เป็นระบบระบายอากาศที่ดีที่สุดในการระบายควัน โดยวิเคราะห์จากระยะการไหลย้อนกลับของควัน เวลาในการระบายควัน การกระจายตัวของอุณหภูมิ และความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ นอกจากนี้เมื่อเพิ่มปริมาณอัตราการไหลจาก 55 เป็น 70 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระบบระบายควันแบบที่ 2 สามารถลดระยะเวลาที่ใช้ในการระบายควันลงดังนั้นค่าอัตราการไหลและเทคนิคในการออกแบบระบบระบายอากาศที่เหมาะสมจะสามารถช่วยลดความเสียหายที่เกิดจากเหตุการณ์เพลิงไหม้ภายในอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินได้ ขนาดความกว้างของทางเดินฉุกเฉินที่ 1.2 เมตรจำนวนคนที่สามารถผ่านประตูต่อวินาทีมีค่าเท่ากับ 1.584 คน และความปลอดภัยในการอพยพควรมีค่าความหนาแน่นของคนเท่ากับ 1.07 คนต่อตารางเมตร
Other Abstract: This study was numerically investigated the effect of ventilation system on smoke movement in Mass Rapid Transit (MRT) tunnel with three positions of fire (front, middle and rear of the train) using Fire Dynamic Simulator (FDS) version 6.0. The distributions of temperature, CO concentration and smoke movement in a tunnel route between M2 station and M1 station were simulated. In the worst case scenario, the train must stop immediately for evacuation at the middle of the tunnel. According to the data for the ventilation system 1 and 2, the results showed that the ventilation system 2 was the best ventilating system regarding back layering length, evacuating time, the distributions of temperature and CO concentration. The ventilation system 2 suggested that the ventilation time was decreased by increasing the volumetric flow rate from 55 to 70 m3/s. Therefore, the volumetric flow rate and the ventilation system design techniques can reduce the catastrophe caused by conflagration in the subway tunnel. The width of emergency way is 1.2 meters, the number of people who can pass through the gate per second equals 1.584 people per second and the safety for evacuation should have the density of people as 1.07 people per square meter.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเครื่องกล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49977
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1395
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2015.1395
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670122321.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.