Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50091
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์ | en_US |
dc.contributor.author | สุพัตรา เพ็ชรน้ำขาว | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:42:39Z | |
dc.date.available | 2016-11-30T05:42:39Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50091 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการอนุมานเชิงสถิติแบบมีข้อจำกัดเชิงอันดับสำหรับการจัดพอร์ตลงทุน และทำการทดลองจัดพอร์ตโดยใช้ข้อมูลของผลตอบแทนรายเดือน 10 อุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา บนพื้นฐานของค่าเฉลี่ย-ความแปรปรวน ในการศึกษานี้จะประมาณความแปรปรวนจากตัวแบบปัจจัยเดียว และประมาณค่าคาดหวังของผลตอบแทนจากเทคนิคปริพันธ์เวียนเกิด โดยข้อจำกัดเชิงอันดับใช้อันดับของผลตอบแทนในอดีต จากนั้นกำหนดนโยบายการจัดพอร์ตลงทุนจากการแก้สมการอรรถประโยชน์สูงสุด ซึ่งนโยบายและประสิทธิภาพของการจัดพอร์ตลงทุนจะแตกต่างกันที่การประมาณค่าคาดหวังของผลตอบแทน ดังนั้นในงานวิจัยนี้ทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดพอร์ตลงทุน 2 กรณี นั่นคือการจัดพอร์ตลงทุนโดยประมาณค่าคาดหวังของผลตอบแทนแบบไม่มีข้อจำกัดเชิงอันดับ กับการจัดพอร์ตลงทุนโดยประมาณค่าคาดหวังของผลตอบแทนแบบมีข้อจำกัดเชิงอันดับ และวัดประสิทธิภาพของแต่ละกรณีด้วยค่าประมาณอรรถประโยชน์ จากการศึกษาพบว่าการจัดพอร์ตลงทุนโดยมีข้อจำกัดเชิงอันดับจะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่าการจัดพอร์ตลงทุนแบบไม่มีข้อจำกัดเชิงอันดับ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this paper is to study an approach for portfolio selection with rank constrained statistical inference. We perform experiments with a real data set of monthly asset returns from ten industries in the US. We employ mean-variance methodology for portfolio optimization. In this study, we estimate the variance-covariance matrix by a one-factor model and estimate the expected returns by a recursive integration technique. A portfolio selection strategy is formed by optimizing certainty equivalence utility function. We compare the performances between two cases, namely the portfolio selection model with a rank constraint and the model without a rank constraint, where the performance is defined as the out-of-sample certainty equivalence estimate. We find that, in average, the certainty equivalence estimates from the model with a rank constraint achieves a superior performance over the model without a rank constraint. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.968 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การลงทุน | |
dc.subject | ทฤษฎีข้อจำกัด (การจัดการ) | |
dc.subject | Investments | |
dc.subject | Theory of constraints (Management) | |
dc.title | การอนุมานเชิงสถิติแบบมีข้อจำกัดเชิงอันดับสำหรับการจัดพอร์ตลงทุน | en_US |
dc.title.alternative | Rank constrained statistical inference for portfolio selection | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สถิติ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Seksan.K@Chula.ac.th,seksan@cbs.chula.ac.th,seksan@cbs.chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.968 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5681603726.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.