Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.authorขวัญจิต โอชุม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-11-30T09:11:33Z-
dc.date.available2016-11-30T09:11:33Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50142-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดสอบ เพื่อศึกษาผลการโปรแกรมการจัดการอาการปวดร่วมกับการฟังดนตรีในผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปิดช่องท้องแบบฉุกเฉิน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปิดช่องท้องแบบฉุกเฉิน ที่เข้ารับการรักษา ณ หอผู้ป่วยศัลยกรรมโรงพยาบาลสุราษฏร์ธานี จำนวน 40 ราย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มควบคุมจนครบ 20 ราย แล้วจึงเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มทดลอง โดยคำนึงถึงความคล้ายคลึงกันในเรื่องเพศ อายุต่างกันไม่เกิน 5 ปี การวินิจฉัยและชนิดการผ่าตัด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองจะได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการจัดการอาการปวดและการฟังดนตรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือโปรแกรมการจัดการอาการปวดร่วมกับการฟังดนตรี ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากรูปแบบจัดการอาการของ dodd และคณะ (2011) และแนวคิดเกี่ยวกับดนตรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพยาบาลแบบผสมผสาน โดยโปรแกรมประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1)การประเมินความต้องการการประสบการณ์การรู้ของผู้ป่วย 2) การให้ข้อมูล 3) การจัดการความปวดด้วยยาระงับปวดและกาฟังดนตรี 4) กากรประเมินผล สื่อที่ใช้ในโปรแกรมประกอบด้วย เครื่องเล่นซีดี แผ่นซีดีบรรจุเพลง แผนการสอน และคู่มือการจัดการอาการปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปิดช่องท้องแบบฉุกเฉิน โดยโปรแกรมและสื่อสารผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมินความปวด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนความปวด ของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการอาการปวดที่เน้นการฟังดนตรีน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. คะแนนความปวดภายหลังการเข้าร่วมการทดลองของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนับสำคัญทางสถิติที่ระดับen_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aim to test the effect of pain management with listening music on pain of post-emergency abdominal surgery patient. Study sample were 40 post emergency abdominal surgery outpatients who were treated at the Surgery Department of Surathanee Hospital. The subjects were divided into control groups and experimental groups. The groups were matched in terms of sex, age, diagnosis and type of operation. The control group received routine nursing care, while the experimental group received the pain management with listening music in addition to routine nursing care. The program was based on the Symptom Management Model (Dodd et al.,2001) and Listening Music as part of Complementary Concepts comprising of four sessions: a) symptom experience assessment, b) knowledge providing, c) pain management by medicine and music listening, d) pain management evaluation phase. The pain numeric scale was used to measure the collected data. Furthermore, Independent t-test was used to analyze comparison of data between the two groups. The major findings showed that: 1. The post test mean score on pain of the experimental group was significantly lower than that of the pretest ( X pretest = 6.10; Xpost test= 3.35; t-test = .27.69; p<.05). 2. The post test mean score of pain in experimental group was significantly lower than that of the control group ( Xcontrol = 4.60; Xexperiment = 3.35 ; t-test = 3.88; p<.05).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1003-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเจ็บปวด -- การจัดการen_US
dc.subjectความเจ็บปวดหลังศัลยกรรมen_US
dc.subjectดนตรีบำบัดen_US
dc.subjectPain -- Managementen_US
dc.subjectPostoperative painen_US
dc.subjectMusic therapyen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการความปวดร่วมกับการฟังดนตรีต่อความปวดในผู้ป่วยผ่าตัดเปิดช่องท้องแบบฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativeThe effect of pain managment program with music listening on pain of post emergency abdominal surgical patientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSureeporn.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1003-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kwanjit_oc_front.pdf600.2 kBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_ch1.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_ch2.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_ch3.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_ch4.pdf503.48 kBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_ch5.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
kwanjit_oc_back.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.