Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50176
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Vira Somboon | en_US |
dc.contributor.advisor | Surichai Wungaeo | en_US |
dc.contributor.author | Ning Liu | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-01T08:01:35Z | - |
dc.date.available | 2016-12-01T08:01:35Z | - |
dc.date.issued | 2015 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50176 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2015 | en_US |
dc.description.abstract | Proliferation of multilateral environmental agreements (MEAs) leads to institutional fragmentation, duplication as well as overloading the national administration and likely causes ineffectiveness of MEAs implementation. Using collective action theory, inter-organization theory and propositions on synergy, clustering, fragmentation and regime effectiveness, this research closely examined a case of MEA Regional Enforcement Network (MEA REN), a pilot project aimed at strengthening enforcement of four chemical and waste related MEAs (Basel/Rotterdam/Stockholm Conventions and Montreal Protocol) in Asia, to prove the claim that building MEAs synergies would improve enforcement effectiveness. The study was conducted through in-depth interview, documentation review, comparing trade data, and qualification analysis. The study concluded that synergy building could improve information flows, inter-agency cooperation, law enforcement operations, capacity building and enforcing licensing system so that countries can enforce MEAs in a more effective way. The study recommended organization reform, enforcement networking and capacity building are key areas to improve enforcement effectiveness, and constructed a model of building synergies for chemical and waste related MEAs to improve environmental enforcement. | en_US |
dc.description.abstractalternative | การเพิ่มทวีของข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม (Multilateral Environmental Agreements, MEA) นำไปสู่การแยกส่วนและความซ้ำซ้อนในเชิงสถาบัน ทั้งยังสร้างภาระแก่การบริหารงานของประเทศมากเกินไป จึงอาจเป็นสาเหตุของความไม่มีประสิทธิผลในการนำข้อตกลงเหล่านี้ไปปฏิบัติ งานวิจัยชิ้นนี้ใช้ทฤษฎีการกระทำร่วมกัน (Collective Action Theory) ทฤษฎีระหว่างองค์การ (Inter-organization Theory) และข้อเสนอว่าด้วยการทำงานร่วม (Synergy) การรวมกลุ่ม (Clustering) การแยกส่วน (Fragmentation) และความมีประสิทธิผลของระบอบ (Regime Effectiveness) ศึกษาเชิงลึกกรณีของเครือข่ายการบังคับใช้ข้อตกลงพหุภาคีระดับภูมิภาค ซึ่งเป็นโครงการนำร่องที่มีเป้าหมายเพื่อเสริมความแข็งแกร่งในการบังคับใช้ข้อตกลงพหุภาคีที่เกี่ยวข้องกับการสารเคมีและของเสีย 4 ข้อตกลง (อนุสัญญาบาเซล อนุสัญญารอตเตอร์ดัม อนุสัญญาสตอคโฮล์ม และพิธีสารมอนทรีออล) ในทวีปเอเชีย (โดยเน้นที่ประเทศจีนและประเทศไทย) เพื่อพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างที่ว่า การเสริมสร้างการทำงานร่วมระหว่างข้อตกลงพหุภาคีจะเพิ่มประสิทธิผลในการบังคับใช้ข้อตกลงเหล่านี้ การศึกษาวิจัยดำเนินการโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การทบทวนเอกสาร การวิเคราะห์เชิงปริมาณข้อมูลการค้า และการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ การวิจัยมีข้อสรุปว่า การเสริมสร้างการทำงานร่วมสามารถปรับปรุงการไหลเวียนของสารสนเทศ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน การปฏิบัติงานด้านการบังคับใช้กฎหมาย การสร้างสมรรถนะ และการบังคับใช้ระบบการออกใบอนุญาต ซึ่งทำให้ประเทศสมาชิกบังคับใช้ข้อตกลงพหุภาคีได้อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น การวิจัยนี้เสนอแนะว่า การปฏิรูปองค์การ การสร้างเครือข่ายในการบังคับใช้ และการสร้างสมรรถนะ เป็นปัจจัยสำคัญในการปรับปรุงความมีประสิทธิผลในการบังคับใช้ และได้สร้างแบบจำลองสำหรับการเสริมสร้างการทำงานร่วมระหว่างข้อตกลงพหุภาคีที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีและของเสีย เพื่อปรับปรุงการบังคับใช้ทางสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1075 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Refuse and refuse disposal; Salvage (Waste, etc.) | - |
dc.subject | Environmental management | - |
dc.subject | Sustainable development -- Environmental aspects | - |
dc.subject | การจัดการของเสีย | - |
dc.subject | การจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.subject | การพัฒนาแบบยั่งยืน -- แง่สิ่งแวดล้อม | - |
dc.title | BUILDING A SYNERGISTIC MODEL ON CHEMICAL AND WASTE MULTILATERAL ENVIRONMENTAL AGREEMENTS TO IMPROVE ENVIRONMENTAL ENFORCEMENT : A CASE STUDY OF MULTILATERAL ENVIRONMENTAL AGREEMENTS REGIONAL ENFORCEMENT NETWORK | en_US |
dc.title.alternative | การสร้างแบบจำลองเสริมสร้างการทำงานร่วมข้อตกลงพหุภาคีสารเคมีและของเสียให้มีผลบังคับใช้ทางสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาข้อตกลงพหุภาคีเพื่อบังคับใช้ในเครือข่ายภูมิภาค | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | en_US |
dc.degree.level | Doctoral Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Environment, Development and Sustainability | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Vira.So@Chula.ac.th,sbvira@yahoo.com | en_US |
dc.email.advisor | Surichai.W@Chula.ac.th,surichai1979@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1075 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5387820320.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.