Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50221
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงษ์ธร จรัญญากรณ์en_US
dc.contributor.advisorสัณหพศ จันทรานุวัฒน์en_US
dc.contributor.authorรักเกียรติ วารินศิริรักษ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:03:00Z
dc.date.available2016-12-01T08:03:00Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50221
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractกระบวนการผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าเป็นกระบวนการที่มีการใช้พลังงานสูงมาก ซึ่งใช้ทั้งพลังงานไฟฟ้าในเตาหลอมอาร์คไฟฟ้า และ ใช้เชื้อเพลิงในการอุ่นเบ้ารับน้ำเหล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้พลังงานทั้งสองส่วนไม่สัมพันธ์กัน วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดการใช้พลังงานโดยรวมของกระบวนการดังกล่าว โดยการสร้างระบบช่วยควบคุมการทำงานของเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าให้สัมพันธ์กับสภาวะทางความร้อนของเบ้ารับน้ำเหล็ก ซึ่งใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สามารถช่วยควบคุมการทำงานของเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าและเบ้ารับน้ำเหล็กให้สอดคล้องกัน และ สามารถทำนายการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำเหล็กได้แม่นยำขึ้นจึงไม่ต้องเผื่ออุณหภูมิการเทน้ำเหล็กให้สูงเกินไป จำลองการทำงานของกระบวนการผลิตเหล็กกล้าด้วยเตาหลอมอาร์คไฟฟ้า โดยจำลองสภาวะทางความร้อนของเบ้ารับน้ำเหล็กตามเวลาของกิจกรรมต่างๆที่ปฏิบัติงานในโรงงานตัวอย่าง และปรับแก้สภาวะทางความร้อนของเบ้ารับน้ำเหล็กก่อนนำเบ้ารับน้ำเหล็กไปรับน้ำเหล็กด้วยการรับข้อมูลซึ่งเป็นตัวแทนอุณหภูมิเบ้าน้ำเหล็กเข้ามาปรับแก้ให้สภาววะทางความร้อนของเบ้ารับน้ำเหล็กแม่นยำขึ้น จากนั้นระบบจะให้ค่าอุณหภูมิการเทน้ำเหล็ก และ เวลาในการอุ่นเบ้ารับน้ำเหล็กที่เหมาะสมเพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ผลการศึกษาระบบช่วยควบคุมการทำงานที่ได้ทำการพัฒนาขึ้นโดยเปรียบเทียบกับข้อมูลการทำงานจริงของโรงงานตัวอย่างที่กำลังผลิตน้ำเหล็กเท่ากับ 144,000 ตันต่อปี พบว่าสามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้า 20.3 kWh/ตันน้ำเหล็ก เมื่อพิจารณาการทำงานตลอดทั้งปี พบว่าสามารถประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าคิดเป็นมูลค่า 8.76 ล้านบาทen_US
dc.description.abstractalternativeEnergy consumption in steel making process with electric arc furnace is intensely high. The process involves both electricity consumption in electric arc furnace and fuel consumption in ladle preheating. They are not well-coordinated in term of energy usage. This thesis aims to reduce overall energy consumption of the process by creating an assisting-control system for electric arc furnace based on thermal condition of ladle. The system employs a mathematics model that can help control the electric arc furnace and ladle operation consistently. In addition it can predict temperature change of the molten steel more accurately, therefore, tapping temperature can be reduced significantly. The system simulates the steelmaking process by simulating thermal condition of the ladle according to time of activities in a selected factory. The thermal condition of ladle is adjusted before steel tapping based on representative temperature measurement of the ladle. Finally the system outputs recommended tapping temperature and suitable time of ladle preheating so as to be adopted by furnace operator. The test results of the assisting-control system by comparing with the actual operation data of the selected factory, 144,000ton/year capacity, show that electric energy consumption reduction of about 20.3 kWh/ton could be realized. This leads to annual saving of 8.76 Million baht.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1269-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเตาหลอมไฟฟ้า
dc.subjectเหล็กกล้า -- การผลิต
dc.subjectElectric arc
dc.subjectElectric furnaces
dc.subjectSteel -- Manufacture
dc.titleการปรับปรุงระบบช่วยควบคุมการทำงานของเตาหลอมอาร์คไฟฟ้าให้สัมพันธ์กับสภาวะทางความร้อนของเบ้ารับน้ำเหล็กen_US
dc.title.alternativeImprovement of assisting-control system for electric arc furnace based on thermal condition of the ladleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPongtorn.C@Chula.ac.th,pongtorn.c@chula.ac.then_US
dc.email.advisorsupavut.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1269-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570344221.pdf7.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.