Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญชัย เตชะอำนาจen_US
dc.contributor.authorทัฐชวิน แสงศรีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:03:06Z
dc.date.available2016-12-01T08:03:06Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50225
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการศึกษากลศาสตร์ทางไฟฟ้าของอนุภาคตัวนำเป็นหนทางหนึ่งในการควบคุมอนุภาคและการพัฒนาสมรรถนะของระบบฉนวนก๊าซให้ดีขั้น. วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวนำทรงคล้ายทรงกลมแบนข้างภายใต้สนามไฟฟ้า เพื่อเป็นตัวแทนของรูปร่างที่เบี่ยงเบนไปจากทรงกลม. การทดลองภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอแสดงให็เห็นว่า อนุภาคเคลื่อนที่ 2 แบบ. แบบที่หนึ่ง อนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากการหมุนรอบจุดสัมผัส หลังจากนั้นยกตัวออกจากอิเล็กโทรด. แบบที่สอง อนุภาคยกตัวขนานออกจากอิเล็กโทรดกราวนด์. การเคลื่อนที่ภายใต้สนามไฟฟ้าไม่สม่ำเสมอของอนุภาคที่สัมผัสกับอิเล็กโทรดกราวนด์และจัดวางโดยแกนเอกอยู่ในแนวการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้ามีลักษณะเหมือนกับการเคลื่อนที่ภายใต้สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ แต่การหมุนรอบจุดสัมผัสของอนุภาคส่วนใหญ่เริ่มยกตัวจากปลายด้านในขึ้นก่อน. อนุภาคที่จัดวางโดยให้สนามไฟฟ้าคงที่บนแกนเอกสามารถเคลื่อนที่ไปยังบริเวณที่มีระยะแกปแคบกว่า นอกเหนือจากการหมุนรอบจุดสัมผัสและการยกตัวขนาน. เมื่ออนุภาคอยู่บนฉนวนและมีสนามไฟฟ้าคงที่บนแกนเอก อนุภาคจะหมุนในแนวระดับหรือกลิ้งไปยังบริเวณที่มีระยะแกปแคบกว่า. อนุภาคไม่สามารถกลิ้งได้เมื่อจัดวางโดยให้แกนเอกอยู่ในแนวการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า เนื่องจากแรงเสียดทานที่มากเกินไป. การทดสอบการดักจับอนุภาคภายใต้สนามไฟฟ้าไม่สม่ำเสมออาศัยสนามไฟฟ้าบริเวณขอบของอิเล็กโทรดและฉนวน. อัตราในการจับยึดอนุภาคค่อนข้างต่ำและอนุภาคส่วนใหญ่ไม่เคลื่อนที่. การเพิ่มประสิทธิภาพในการจับยึดอนุภาคทำได้โดยการเพิ่มระยะแกป เพื่อลดโอกาสเกิดดิสชาร์จระหว่างอิเล็กโทรด.en_US
dc.description.abstractalternativeThe study on electromechanics of conducting particles is a basic for controlling particles and improving the performance of gas insulation systems. This thesis studies the movement of the prolate spheroidal particles under electric field for representing the shape that delivates from spherical one. The experiments under uniform electric field show that there are two patterns of the particle movement. For the first pattern, the parrticle rotates about the contact point and then lifts from the electrode. For the second pattern, the particle lifts parallel with the grounded electrode. The movement under non-uniform field of particles that are in contact with the grounded electrode and aligned parallel to the field gradient is similar to that under the uniform field, but the particle mostly lifts from the inner end. The particle placed with constant electric field on the major axis can move to the higher field region, in addition to the rotation and the parallel lift. When the particle is on a dielectric and subjected to constant electric field on the major axis, it rotates vertically or rolls to the higher field region. The particle does not move when its major axis is parallel with the field gradient because of too high friction force. The experiments on the particle deactivation under the non-uniform field utilizes the field on electrode and PDMS edges. The rate of successful particle deactivation is quite low, and particles often do not move. This deactivation efficiency can be improved by increasing the gap to lower the discharge occurence between electrodes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1415-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาค
dc.subjectการกระจายของขนาดอนุภาค
dc.subjectสนามไฟฟ้า
dc.subjectParticles
dc.subjectParticle size determination
dc.subjectElectric fields
dc.titleการศึกษากลศาสตร์ไฟฟ้าของอนุภาคทรงคล้ายทรงกลมและการควบคุมอนุภาคen_US
dc.title.alternativeStudy on the electromechanics of prolate spheroidal particles and the particle controlen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonchai.T@Chula.ac.th,Boonchai.T@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1415-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570543821.pdf4.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.