Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50263
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนาพล ลิ่มอภิชาตen_US
dc.contributor.authorตวงทิพย์ พรมเขตen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialอินโดนีเซีย
dc.date.accessioned2016-12-01T08:03:46Z
dc.date.available2016-12-01T08:03:46Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50263
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาแนวคิดและยุทธศาสตร์ทางการเมืองของ ดี. เอ็น. ไอดิต เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียระหว่างปี 1951-1965 ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการกำหนดทิศทางและการขับเคลื่อนพรรค ภายใต้การนำของไอดิต พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียเติบโตขึ้น มีฐานมวลชนและแนวร่วมให้การสนับสนุนมากที่สุดนับตั้งแต่ก่อตั้งพรรค จนถือได้ว่าเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกนอกค่ายคอมมิวนิสต์ก่อนจะถูกปราบอย่างราบคาบในปี 1965 ข้อเสนอหลักของวิทยานิพนธ์คือแนวคิดและยุทธศาสตร์ทางการเมืองของไอดิตในช่วงปี 1951-1965 วางอยู่บนพื้นฐานการวิเคราะห์โครงสร้างสังคม การประเมินสถานการณ์และเงื่อนไขทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอินโดนีเซียเป็นสำคัญ โดยมีลักษณะที่ยืดหยุ่น มีพัฒนาการทางความคิดที่ต่อเนื่อง และมีการปรับเปลี่ยนภายใต้บริบททางการเมืองและสังคมอินโดนีเซียที่มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วง ที่สำคัญคือการปรับเปลี่ยนแนวทางจากการสร้างแนวร่วมแห่งชาติและการต่อสู้ทางรัฐสภา ซึ่งปฏิเสธการต่อสู้ด้วยอาวุธในทศวรรษ 1950 มาสู่การปลุกระดมมวลชนอย่างหนักในปี 1963 เป็นต้นมา จนนำไปสู่ความพยายามติดอาวุธให้กับชาวนา และนำไปสู่ความขัดแย้งกับกองทัพอินโดนีเซีย จนกระทั่งถูกปราบในเหตุการณ์เกสตาปูปี 1965en_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis examines the political ideas and strategies of D. N. Aidit, the Secretary General of the Communist Party of Indonesia (PKI: Partai Komunis Indonesia) during 1951-1965, which proved the crucial period in determining the PKI’s direction and operation. Under Aidit’s leadership, the PKI grew and reached an unprecedented number of its mass base and allies, making it the largest communist party outside the Communist bloc before its destruction in 1965. This thesis argues that Aidit’s political ideas and strategies during 1951-1965 were based largely on the analysis of Indonesian social structure and the evaluation of situations as well as political, economic, and social conditions of Indonesia. These ideas and strategies were flexible and constantly evolving as they became modulated under different political and social contexts of Indonesia. After building the national front and competing non-violently in the parliamentary system in the 1950s, a significant shift occured from 1963 onward as the PKI forcefully mobilized the masses, leading to its attempt at weaponizing the peasantry and its conflict with the Indonesian Army, which culminated in the extermination of the PKI upon the Gestapu events of 1965.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.955-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไอดิต, ดี. เอ็น.
dc.subjectคอมมิวนิสต์ -- อินโดนีเซีย
dc.subjectอินโดนีเซีย -- ประวัติศาสตร์
dc.subjectอินโดนีเซีย -- การเมืองและการปกครอง
dc.subjectอินโดนีเซีย -- การเมืองและการปกครอง -- แง่ยุทธศาสตร์
dc.subjectAidit, D. N.
dc.subjectCommunists -- Indonesia
dc.subjectIndonesia -- History
dc.subjectIndonesia -- Politics and government
dc.subjectIndonesia -- Politics and government -- Strategic aspects
dc.titleแนวคิดและยุทธศาสตร์ทางการเมืองของ ดี. เอ็น. ไอดิต ในช่วง ค.ศ. 1951-1965en_US
dc.title.alternativePolitical ideas and strategies of D.N. Aidit, 1951-1965en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThanapol.L@Chula.ac.th,yinglimapichart@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.955-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5580131522.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.