Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50338
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Jirawat Chewaroungroaj | en_US |
dc.contributor.author | Tanart Wisit | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | en_US |
dc.coverage.spatial | Thailand | |
dc.date.accessioned | 2016-12-01T08:05:18Z | |
dc.date.available | 2016-12-01T08:05:18Z | |
dc.date.issued | 2015 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50338 | |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2015 | en_US |
dc.description.abstract | Oil and gas production operational activities are increasing due to number of smaller fields with same production target. In Gulf of Thailand, oil and gas formations are small pockets, thus the activity levels are relatively high leading to more time and complicated operation sequence scheduling. The proposed Linear programming (LP) optimization model with binary variable is constructed of CPLEX optimizer program. This study aims to develop LP model to optimize unit scheduling semi-automatically and apply it to well intervention and unit operation sequence optimization of an oil and gas production field in Thailand. Electric line unit, slick line unit and well interventions done by these units are involved. Well interventions duration and units mobilization time are also included. Solving binary variable allows unit and job sequences shuffle to yield minimum solution which the model’s constraints are satisfied. Multiple model inputs are changed to validate the model. Total unit utilization time and total finished time minimization are scheduler’s most suitable objective function. Both number of event point and due date constraints affect model’s search space which may change the solution of scheduler. The scheduler also reduces time usage and complexity resulting in more efficient and better management of units operation of oil and gas production field.The validated optimization model is applied to field well intervention operation case. The scheduler has identified optimization opportunity of selected field case. Furthermore, several sensitivity analysis cases of operational options and operation uncertainties are performed. | en_US |
dc.description.abstractalternative | ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับหลุมผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยจำต้องเพิ่มขึ้น เนื่องจากแหล่งผลิตที่เหลืออยู่มีขนาดเล็กลงในขณะที่เป้าปริมาณการผลิตยังเท่าเดิม ปิโตรเลียมในอ่าวไทยถูกกักเก็บอยู่ในชั้นกักเก็บที่เป็นกระเปาะขนาดเล็กจึงทำให้ต้องมีระดับกิจกรรมหน้าหลุมผลิตสูงกว่าปกติ เป็นผลให้การจัดตารางกิจกรรมเหล่านี้ใช้เวลานานและมีความซับซ้อน ในการศึกษานี้ทางออกที่เสนอคือการออกแบบกำหนดการเชิงเส้นเที่มีตัวแปรเลขฐานสองพื่อหาค่าที่เหมาะสมที่สุดด้วยโปรแกรม CPLEX เป้าหมายเพื่อสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นที่จะจัดลำดับการทำงานของชุดอุปกรณ์แบบกึ่งอัตโนมัติให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำผลที่ได้ไปใช้กับการจัดตารางเวลาและจัดสรรอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานกับหลุมผลิตของแหล่งผลิตปิโตรเลียมในอ่าวไทย การศึกษานี้เกี๋ยวข้องกับชุดอุปกรณ์ลวดนำไฟฟ้า, ชุดอุปกรณ์ลวดเรียบ และการปฏิบัติงานกับหลุมผลิตที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลาในการปฏิบัติงานหน้าหลุมผลิตและระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายยูนิตก็ถูกนำมาคำนวนในโปรแกรมด้วยเช่นกัน ตัวแปรเลขฐานสองช่วยให้เกิดการสลับลำดับของชุดอุปกรณ์และงานหน้าหลุมผลิตภายในแบบจำลองเพื่อให้ได้คำตอบที่มีค่าต่ำที่สุดภายใต้ข้อจำกัดที่กำหนดไว้ ข้อมูลนำเข้าของแบบจำลองถูกเปลี่ยนแปลงเพื่อตรวจสอบการทำงานของแบบจำลอง การลดผลรวมของเวลาทั้งหมดที่ชุดอุปกรณ์ทำงานเสร็จรวมกับเวลาทั้งหมดที่ชุดอุปกรณ์ใช้ในการทำงานให้มีค่าต่ำสุดเป็นฟังก์ชันวัตถุประสงค์ที่เหมาะสมที่สุดของตัวจัดตารางเวลานี้ จำนวนของจุดเหตุการณ์และวันที่ครบกำหนดของงานต่างส่งผลกระทบต่อพื้นที่ค้นหาคำตอบของแบบจำลองซึ่งอาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของคำตอบเกิดขึ้น ตัวจัดตารางเวลานี้ยังช่วยลดการใช้เวลาและความซับซ้อนที่เกิดขึ้นในการจัดลำดับการปฏิบัติงานกับหลุมผลิต เป็นผลให้การบริหารการใช้ชุดอุปกรณ์ต่างๆของแหล่งผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีประสิทธิภาพมากขึ้น แบบจำลองที่ผ่านการตรวจสอบแล้วได้ถูกนำไปใช้กับปัญหาการปฏิบัติงานกับหลุมผลิตของแหล่งผลิตจริง ตัวจัดตารางเวลานี้ได้ชี้ให้เห็นโอกาสในการเพิ่มประสิทธิภาพของลำดับการปฏิบัติงานกับหลุมผลิตของแหล่งผลิตจริง นอกจากนี้ยังได้มีการการวิเคราะห์ความไวในหลายกรณีของทางเลือกในการปฏิบัติงานและความไม่แน่นอนในการปฏิบัติงาน | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.208 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Petroleum | |
dc.subject | Oil fields -- Thailand, Gulf of | |
dc.subject | ปิโตรเลียม | |
dc.subject | แหล่งน้ำมัน -- อ่าวไทย | |
dc.title | Semi-automated well interventions and units allocation scheduler | en_US |
dc.title.alternative | ตัวจัดตารางเวลาและจัดสรรอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานกับหลุมผลิตแบบกึ่งอัตโนมัติ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Engineering | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Petroleum Engineering | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Jirawat.C@Chula.ac.th,Jirawat.C@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.208 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5671207221.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.