Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักชนก คชานุบาลen_US
dc.contributor.authorปัทมาสน์ เพชรสมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:07:22Z
dc.date.available2016-12-01T08:07:22Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50433
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุไทยและ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุไทย โดยใช้ข้อมูลจากโครงการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2554 โดยมีขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น 16,660 ราย ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 8.95 คะแนน จากคะแนนเต็ม 12 คะแนน และพบว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีเพียงร้อยละ 12.3 ผลการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ประกอบด้วย 14 ปัจจัย คือ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา การทำงาน ระดับรายได้ ความเพียงพอของรายได้ ทัศนคติต่อการเตรียมการเพื่อวัยสูงอายุ การประเมินสุขภาพตนเอง ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ภาวะสุขภาพจิต จำนวนโรคเรื้อรัง การดูแลโดยบุคลากรด้านสุขภาพ ภาคที่อยู่อาศัย และ เขตที่อยู่อาศัย โดยปัจจัยทั้งหมดมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อคะแนนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ ยกเว้น จำนวนโรคเรื้อรังที่มีความสัมพันธ์ทางลบต่อคะแนนพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to investigate health behaviors and the determinants of health behaviors for Thai older people. Data from the Survey of Older Persons in Thailand, conducted in 2011, was employed in this research. The sample size consisted of 16,600 Thai older persons. The average score for health behavior of Thai older persons was 8.95 from a maximum score of 12 Only 12.3 percent of older Thai persons exhibited good health behaviors. The results based on multiple regression analysis showed that 14 factors were determinants of health behaviors at a 0.05 level of significance, including sex, marital status, education, working status, income, adequacy of income, attitudes on preparing for old age, health status, activities of daily living, mental health, number of chronic diseases, health personnel visiting, and residential area. All of these determinants showed positive effects on health behavior scores except number of chronic diseases.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.437-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทย
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
dc.subjectHealth behavior
dc.subjectOlder people -- Thailand
dc.subjectOlder people -- Health and hygiene
dc.titleพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุไทยen_US
dc.title.alternativeHealth behaviors of Thai older personsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRukchanok.K@Chula.ac.th,Rukchanok.K@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.437-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5686852551.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.