Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์ | en_US |
dc.contributor.author | นภจร วัฒนกุล | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-01T08:08:12Z | |
dc.date.available | 2016-12-01T08:08:12Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50471 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การสร้างต้นแบบ เป็นเทคนิคหนึ่งที่ใช้ระหว่างกระบวนการพัฒนาเชิงวิวัฒน์เพื่อทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้า และลดความเสี่ยงของการกำหนดความต้องการที่ไม่ถูกต้อง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในระยะแรกๆของวงจรการพัฒนาจะส่งผลให้ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายได้มาก นอกจากนี้ เอกสารประกอบระบบต้นแบบสุดท้ายสามารถใช้อ้างอิงสำหรับการพัฒนาในระยะต่อไปได้ อย่างไรก็ตาม การทำเอกสารเป็นงานที่น่าเบื่อและสิ้นเปลืองทรัพยากร งานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอระเบียบวิธีการสร้างเอกสารอัตโนมัติสำหรับต้นแบบรวดเร็ว ซึ่งข้อดีของต้นแบบรวดเร็ว คือ การที่สามารถสร้างส่วนต่อประสานอย่างรวดเร็วเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทดสอบว่าระบบถูกต้องตรงตามความคาดหวัง การทำให้เกิดผลของแนวทางที่เสนอในงานนี้มีส่วนทำให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Prototyping is used as a technique during the evolutionary development process to understand the customer's requirements and reduce the risk of poorly defined requirements. Making changes early in the development lifecycle is extremely cost effective. The document accompanied with the final prototype will serve as the basis for further development. However, documentation is tedious and resource consuming. This paper thus presents the methodology to automate documenting the Rapid prototype of which the strength is its ability to quickly construct interfaces the users can test their expectations. The implementation of the proposed approach would contribute to software process improvement. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.576 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสร้างต้นแบบอย่างรวดเร็ว | |
dc.subject | ต้นแบบทางวิศวกรรม | |
dc.subject | Rapid prototyping | |
dc.subject | Prototypes, Engineering | |
dc.title | การเตรียมเอกสารอัตโนมัติสำหรับการสร้างต้นแบบรวดเร็ว | en_US |
dc.title.alternative | Automated documentation for rapid prototyping | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Yachai.L@Chula.ac.th,limpyac@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.576 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5770931821.pdf | 6.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.