Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.contributor.authorสรารัตน์ ชาลีกันen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:08:14Z-
dc.date.available2016-12-01T08:08:14Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50475-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการปรับปรุงกระบวนการอบแห้งเชื้อเพลิงซึ่งเป็นกระบวนการที่ช่วยเพิ่มพลังงานความร้อนของเชื้อเพลิง โดยการนำไอน้ำ เหลือใช้ (Low pressure steam) จากโรงไฟฟ้า (37.15 MW) มาใช้ในกระบวนการอบ (Cap.400 T/D) โดย เชื้อเพลิงที่ใช้อบคือ ไฟเบอร์ผสม (ทะลายปาล์ม เปลือกมะพร้าว เปลือกไม้) และไม้ชิพ ซึ่งมีค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นก่อนอบประมาณ 40-60% เพื่อช่วยปรับปรุงค่าความชื้นเชื้อเพลิงชีวมวลและต้นทุนในกระบวนการอบแห้ง งานวิจัยนี้จะนำทฤษฎีซิกซ์ ซิกม่า (Six Sigma) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน Define, Measure, Analyze, Improve และ Control (DMAIC) มาใช้ และใช้ Cause and Effect Diagram , Cause and Effect Matrix และ FMEA ในการคัดเลือกปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น และใช้ 3k Factorial Design ในการหาปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญกับค่าความชื้นเชื้อเพลิง จากการปรับปรุงได้ทำการทดสอบกระบวนการเพื่อเปรียบเทียบก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง พบว่าค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยลดลงจาก 10% เป็น 23.74% ทำให้ค่าความร้อนเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น 4,028 เมกกะจูลต่อตันต่อเดือน ต้นทุนในกระบวนการอบแห้งเฉลี่ยลดลงจาก 0.147 บาทต่อเมกกะจูล เป็น 0.122 บาทต่อเมกกะจูล คิดเป็นมูลค่าต้นทุนที่ประหยัดได้ 4,583,028 บาทต่อปีen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to improve the drying process fuel, a process that improves the thermal energy of the fuel by using low pressure steam from a power plant (37.15 MW) for dehydration (Cap.400 T/D) to reduce the percentage of moisture and the cost of dehydration. The fuel included fiber (mixed with palm bunch, coconut shell, bark) and wood chips having the percentage of moisture before dehydration of about 40-60%. In this paper using the Six Sigma systemic process improvement methodology; Define, Measure, Analyze, Improve and Control ( DMAIC). used Cause and Effect Diagram, Cause and Effect Matrix and FMEA for selecting factors which affect to the percentage of moisture. The 3k Factorial Design method was used to determine the factors that affect significantly the fuel moisture content. The result showed decrease in average moisture content from 10% to 23.74%, thereby increasing the heating value to be 4,028 MJ/ton/month, decreasing the average cost of biomass drying process from 0.147 baht/MJ to 0.122 baht/MJ. The total cost of reduction valued 4,583,028 baht/year.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการปรับปรุงค่าความชื้นเชื้อเพลิงชีวมวลในกระบวนการอบแห้งen_US
dc.title.alternativeIMPROVING THE BIOMASS MOISTURE IN THE DRYING PROCESSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJeerapat.N@Chula.ac.th,Jeirapat.N@Chula.ac.th,jeerapat.n@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770975421.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.