Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorบุษกร เฉลิมสินสุวรรณen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:10:02Z
dc.date.available2016-12-01T08:10:02Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50584
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสาร ก่อนและหลังทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองและนักเรียนกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสาร หลังทดลองระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองและของนักเรียนกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 60 คน โรงเรียนวิชูทิศ กรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้การเรียนรู้ด้วยการทำงาน จำนวน 30 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาแบบกติ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้การเรียนรู้ด้วยการทำงาน จำนวน 8 แผน แบบวัดทักษะการดูแลตนเองโดยนักเรียนเป็นผู้ประเมิน แบบสำรวจทักษะการดูแลตนเองของนักเรียนโดยผู้ปกครองและแบบประเมินทักษะการสื่อสาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนน ด้วยค่า “ที” ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างจากก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสารหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: 1) to compare the average score of the self-care and communication skills before and after implementation of the experimental group students and the control group students 2) to compare the average score of the self-care and communication skills after implementation between the experimental group students and the control group students. The sample was 60 students from the third grade of Wichutit School, Bangkok. Thirty students in experimental group were assigned to study under the health education learning management using work-based learning while the other thirty students in the control group were assigned to study with the conventional teaching methods. The research instruments were composed of eight learning activity plans using work-based learning, self-care skills test by students, self-care skills survey by parents and communication skills assessment. The data were analyzed by means, standard deviations and t-test The research findings were as follows: 1) The mean scores of the of the self-care and communication skills of the experimental group students after learning were significantly higher than before learning at .05 levels. The mean scores of the self-care and communication skills of the control group students after learning were found no difference significant than before learning at .05 levels. 2) The mean scores of the self-care and communication skills of the experimental group students after learning was significantly higher than the control group students at .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1133-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสุขศึกษา -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
dc.subjectความสามารถในการสื่อสารในเด็ก
dc.subjectHealth education -- Study and teaching
dc.subjectSchool children
dc.subjectSelf-care, Health
dc.subjectCommunicative competence in children
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้การเรียนรู้ด้วยการทำงานที่มีต่อทักษะการดูแลตนเองและทักษะการสื่อสารของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeEffects of health education learning management using work-based learning on self-care and communication skills of third grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJintana.S@Chula.ac.th,jintana.s@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1133-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783337227.pdf5.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.